สุภาษิตไทย

สํานวนสุภาษิต

ชักแม่น้ำทั้งห้า

หมายถึง การพูดจาหว่านล้อม หาเหตุผลต่างๆมาอ้างเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ และได้ในสิ่งที่ต้องการ

หมายถึง โนมน้าวใจ เพื่อให้เชื่อถือตน

หมายถึง พูดจาหว่านล้อมยกยอบุญคุณเพื่อขอสิ่งที่ประสงค์

พจนานุกรมไทย ชักแม่น้ำทั้งห้า หมายถึง:

  1. (สํา) ก.พูดจาหว่านล้อมยกยอบุญคุณเพื่อขอสิ่งที่ประสงค์ เช่น เถ้าก็พูดจาหว่านล้อมด้วยคํายอ ชักเอาแม่นํ้าทั้งห้าเข้ามาล่อ. (ม. ร่ายยาว กุมาร).

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • ชักแม่น้ำทั้งห้า ความหมายคืออะไร ใช้ยังไง, สํานวนสุภาษิต ชักแม่น้ำทั้งห้า หมายถึง การพูดจาหว่านล้อม หาเหตุผลต่างๆมาอ้างเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ และได้ในสิ่งที่ต้องการ คำกริยา ชัก ครอบครัว แม่ ธรรมชาติ น้ำ
  • ชักแม่น้ำทั้งห้า ความหมายคืออะไร ใช้ยังไง, สํานวนสุภาษิต ชักแม่น้ำทั้งห้า หมายถึง โนมน้าวใจ เพื่อให้เชื่อถือตน อวัยวะ ใจ คำกริยา ชัก ครอบครัว แม่ ธรรมชาติ น้ำ
  • ชักแม่น้ำทั้งห้า ความหมายคืออะไร ใช้ยังไง, สํานวนสุภาษิต ชักแม่น้ำทั้งห้า หมายถึง พูดจาหว่านล้อมยกยอบุญคุณเพื่อขอสิ่งที่ประสงค์ คำกริยา ชัก ครอบครัว แม่ ธรรมชาติ น้ำ

 สํานวนสุภาษิตที่คล้ายกัน

ชักหน้าไม่ถึงหลัง ชักใบให้เรือเสีย ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ ชุบมือเปิบ ช้า ๆ ได้พร้าสองเล่มงาม ช้า ๆ ได้พร้าสองเล่มงาม ด่วนได้สามผลามมักพลิกแพลง ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวมาปิด ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ อย่าชักน้ำเข้าลึก อย่าชักศึกเข้าบ้าน อย่าตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ชักแม่น้ำทั้งห้า"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "Wordy Guru"