พจนานุกรมไทย

คำในภาษาไทย

ไวพจน์

คำนาม

หมายถึงคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง คำพ้องความ ก็ว่า (ภาษาบาลี คือ เววจน)

หมายถึง(โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล ที่ในปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง

 บทความที่เกี่ยวข้อง "ไวพจน์"

 หมายเหตุ

  • * ดังนั้น คำไวพจน์ ปัจจุบันจึงหมายถึง คำพ้องความ หรือคำที่มีความหมายเหมือนกันเท่านั้น

 ภาพประกอบ

  • ไวพจน์ หมายถึงอะไร?, คำในภาษาไทย ไวพจน์ หมายถึง คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง คำพ้องความ ก็ว่า (ภาษาบาลี คือ เววจน) ประเภท คำนาม หมวด คำนาม
  • ไวพจน์ หมายถึงอะไร?, คำในภาษาไทย ไวพจน์ หมายถึง (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล ที่ในปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง ประเภท คำนาม หมวด คำนาม

 คำในภาษาไทยที่คล้ายกัน

กฤดีกา,กฤตยฎีกา กัญ คำพ้องความ คำพ้องเสียง คำไวพจน์ ไลลา ไล่ ไล่ช้าง ไวทย์ ไว้ตัว ไว้ฝีมือ ไว้เนื้อเชื่อใจ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ไวพจน์"

 บทความอื่น ๆ จาก "Wordy Guru"