ค้นเจอ 31 รายการ

 หรือคุณกำลังค้นหา กตัญญู, วงเล็บเหลี่ยม, grateful

กตเวที

หมายถึง[กะตะ-] ว. (ผู้) ประกาศคุณท่าน, (ผู้) สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญู. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ].

กตเวที

อ่านว่ากะ-ตะ-เว-ที

กตเวที

ภาษาจีน感恩者

กตเวที

ภาษาจีน报恩者

grateful

แปลว่ากตเวที

ADJ

คำไวพจน์ กตัญญู มีอะไรบ้าง

กตัญญู, รู้คุณ, กตเวที, ชุดไว้ทุกข์

ภาษาจีน

กตัญญู

หมายถึง[กะตัน-] น. (ผู้) รู้อุปการะที่ท่านทำให้, (ผู้) รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้].

วงเล็บเหลี่ยม

หมายถึงน. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับใช้กันคำหรือข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่นในอีกลักษณะหนึ่ง เมื่อข้อความนั้นได้มีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นด้วย เช่น กตัญญู น. ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้], ใช้บอกคำอ่านในหนังสือประเภทพจนานุกรม เช่น ขนง [ขะหฺนง] น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ตรี อมาตยกุล] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[x + 4 - 3{x + 5 - 4(x + 1)}] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [Ba2+][F-2] = 1.05.10-6, Na2 [Fe(Cn)5(NO)]·2H2O.

ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี

คำบาลีนิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตญฺญูกตเวทิตา

ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี

หมายถึงมีความสำนึกในความดีของสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา กตเวที แปลว่า การตอบแทนต่อสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา คนที่มีคุณสมบัตินี้ จะทำให้ตนเองและครอบครัวพบแต่ความเจริญรุ่งเรือง พบแต่ความสำเร็จ คุณสมบัตินี้ถือว่าเป็นทรัพย์อันประเสริฐในตัวบุคคล

กตัญญูกตเวที

หมายถึงผู้รู้คุณแล้วตอบแทนคุณท่าน พึงทราบบุคคลหาได้ในโลก ๒ จำพวกคือ ๑.บุพพการี ผู้ทำอุปการะก่อน ๒.กตัญญูกตเวที ผู้รู้คุณแล้วตอบแทนคุณ บุพพการีมี ๔ จำพวก คือ ๑.พ่อแม่ ๒.ครูบาอาจารย์ ๓.เจ้านายผู้ปกครอง ๔.พระพุทธเจ้า