คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
อักษรย่อของอาชีพและตำแหน่งต่าง ๆ ในเรื่องของอักษรย่อนั้นมีหลายหัวข้อหลายหมวดที่คนไทยใช้ตัวอักษรย่อแทน เนื่องมาจากความสะดวก กระชับ และรวดเร็วในการเขียน หนึ่งในหมวดที่คนไทยนิยมใช้ตัวอักษรย่อแทนก็คืออาชีพ และตำแหน่งงานของบุคคล
คำสรรพนาม ในชีวิตประจำวันเราพูดคุยกันเป็นเรื่องธรรมดาแต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคำที่ใช้แทนตัวผู้พูดและตัวคู่สนทนานั้นเรียกว่าอะไรด้วยซ้ำ เอ.. หรือนั่นคือคำสรรพนาม วันนี้เราจะมาพูดถึงคำเหล่านี้นั้นก็คือ คำสรรพนาม
สำนวนไทยพร้อมความหมาย พูดถึงสำนวนคนไทยเองก็ได้สร้างสรรค์สำนวนหรือวลีแทนประโยคที่ต้องการจะสื่อได้อย่างน่าสนใจและเกิดภาพให้เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นลองมาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้างที่อาจจะคุ้นหูคุ้นตา
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยใช้บ่อย ว่าด้วยเรื่องของคำศัพท์ในภาษาไทยแม้จะมีมากมายแต่ก็ยังไม่ครอบคลุมได้ทุกคำ คนไทยจึงต้องหยิบยืมภาษาอื่นมาใช้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษที่มีคำที่คนไทยไม่สามารถหาคำมาแทนได้ จึงต้องเกิดการ “ทับศัพท์” ขึ้น
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
Pronoun (คำสรรพนาม) ในการสื่อสารไม่ว่าชาติไหนๆก็ต้องมีคำใช้เรียกแทนตัวเองและคู่สื่อสาร ในภาษาอังกฤษก็เช่นเดียวกันย่อมมีคำสรรพนามวันนี้เราจึงจะมาทำความรู้จักกับคำสรรพนามหรือ Pronoun นั่นเอง วันนี้เรามาดูกันเลยว่า pronoun นั้นมีคำอะไรบ้าง
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร