การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
ทันการ, ทันกาล และทันการณ์ คำไหนถูก คำในภาษาไทยมักสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้อยู่เสมอ แม้แต่คนไทยที่ใช้ภาษาไทยเป็นประจำอย่างเรา ๆ ในบางครั้งยังเกิดความไม่แน่ใจว่าคำนั้นต้องเขียนและสะกดอย่างไรให้ถูกต้อง
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ออกเสียงคล้ายกัน สำหรับคนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (หรือแม้แต่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ก็ตาม) สิ่งที่เราเจอกันเสมอก็คือ การสับสนทางไวยากรณ์ หรือการใช้คำบางคำผิดหรือสับสน โดนเฉพาะคำที่ออกเสียงคล้ายๆ กัน
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
อักษรย่อกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ ของไทย ในงานเขียนหลายครั้งตัวอักษรย่อก็ถูกนำมาใช้อาจจะด้วยเหตุผลที่ต่างกันออกไป แน่นอนหนึ่งในหมวดที่นิยมใช้อักษรย่อแทนก็คือชื่อเต็มของกระทรวงและหน่วยงานอิสระต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเขียนหรือใช้งาน ซึ่งพบได้ตามข่าว เอกสาร และสื่ออื่น ๆ บางครั้งได้สร้างความสับสนให้แก่ผู้อ่านเพราะยากจะเข้าใจว่าตัวอักษรเหล่านั้นย่อมาจากอะไร
คำไวพจน์ พร้อมความหมายน่ารู้ คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือ คล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ"
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ ในภาษาไทยหรือแม้กระทั่งภาษาอื่น ๆ ต่างก็มีเครื่องหมายที่ใช้สำหรับการเขียนเพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน หรือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะใช้ให้เป็นแบบแผนเดียวกัน การใช้เครื่องหมายต่าง ๆ ในภาษาไทยมีหลักการใช้ สรุปได้ดังนี้
อักษรย่อของมหาวิทยาลัยของรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศ ต้อนรับเปิดเทอมด้วยเกร็ดความรู้อักษรย่อเกี่ยวกับชื่อของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยก็มีตัวย่อของตัวเองทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อความสะดวกในการเขียน วันนี้เราจึงได้รวบรวมอักษรย่อของมหาวิทยาลัยรัฐ และในกำกับของรัฐทั่วประเทศมาให้ได้ดูกัน
อักษรย่อของอาชีพและตำแหน่งต่าง ๆ ในเรื่องของอักษรย่อนั้นมีหลายหัวข้อหลายหมวดที่คนไทยใช้ตัวอักษรย่อแทน เนื่องมาจากความสะดวก กระชับ และรวดเร็วในการเขียน หนึ่งในหมวดที่คนไทยนิยมใช้ตัวอักษรย่อแทนก็คืออาชีพ และตำแหน่งงานของบุคคล