ค้นเจอ 470 รายการ

คหกรรม

แยกคําสมาสเป็นคห + กรรม

การก

หมายถึง[กา-รก] น. ผู้ทำ. (ไว) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. (ป., ส.).

sin

แปลว่ากรรม

N

รัก เป็นกริยา แต่อกหัก มันเป็น กรรม

กรรม,ชะตากรรม

ภาษาญี่ปุ่น業因

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นごういん

n

ออกกรรม

หมายถึงการที่ภิกษุต้องอาบัติหนักแล้วไม่เข้ากรรม เรียก ออกกรรม จะร่วมอุโบสถสังฆกรรมกับภิกษุผู้บริสุทธิ์ไม่ได้ ต้องเข้ากรรมเสียก่อน การเข้ากรรมคือ เข้าปริวาส คือการอยู่ในขอบเขตจำกัด ปกปิดอาบัติไว้กี่วันต้องอยู่ปริวาสให้ครบเท่ากับวันที่ปกปิดไว้ เมื่ออยู่ปริวาสครบแล้ว ต้องเข้ามานัตอีก ๖ วัน ต่อจากนั้นพระสงฆ์จะสวดอัพภาน คือสวดรับรองว่าเป็นผู้บริสุทธิ์แล้ว ร่วมอุโบสถร่วมสังฆกรรมกับพระสงฆ์ได้ ธรรมเนียมอีสานมีประเพณีเข้ากรรมอยู่ด้วย เป็นประเพณีที่ต้องทำในระหว่างเดือนอ้าย เรียก ประเพณีเข้ากรรม ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้พระสงฆ์ที่ทำผิดพระพุทธบัญญัติมีโอกาสแก้ตัวได้.

กรรม

ภาษาจีน后缀

กิจกรรม

แยกคําสมาสเป็นกิจ + กรรม

กรรม์

หมายถึง[กัน] (กลอน) น. กรรม.

object

แปลว่ากรรม

N

deed

แปลว่ากรรม

N

demeanour

แปลว่ากรรม, ลักษณะภายนอก, ท่าทาง, บุคลิกลักษณะ, อากัปกิริยา

N