ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่เป็นกระแสอย่างมากทั่วทั้งโซเชียล จะเห็นว่าคนแทบทุกวัยต่างพากันพูดถึงละครเรื่องบุพเพสันนิวาส แถมนำคำบางคำในละครที่ไม่ค่อยได้ยินแล้วในปัจจุบันมาพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง มีคำศัพท์คำหนึ่งที่หลายคนพูดติดปากกันมากนั่นคือคำว่า "เวจ" วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำนี้กันว่ามีความหมายว่าอย่างไรกันแน่
เศร้าโศก | โศกเศร้า อ่านว่าอย่างไร คำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า เป็นคำในภาษาไทยที่มีรูปคำแบบมี ร.เรือ เป็นคำควบกล้ำ แล้วเราสงสัยกันไหมว่าต้องอ่านออกเสียงคำว่า เศร้าโศก และ โศกเศร้า อย่างไรถึงจะถูกต้อง
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
คำภาษาอังกฤษในภาษาไทย ในวันนี้เราจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่ไทยเราได้ยืมมาจากภาษาอังกฤษมาดูกันว่ามีคำไหนและหลักการอย่างไรบ้างมาดูกันเลย
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยใช้บ่อย ว่าด้วยเรื่องของคำศัพท์ในภาษาไทยแม้จะมีมากมายแต่ก็ยังไม่ครอบคลุมได้ทุกคำ คนไทยจึงต้องหยิบยืมภาษาอื่นมาใช้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษที่มีคำที่คนไทยไม่สามารถหาคำมาแทนได้ จึงต้องเกิดการ “ทับศัพท์” ขึ้น
คำราชาศัพท์ หมวดกริยา คำราชาศัพท์ หมวดกริยา ประกอบไปด้วย ชำระพระหัตถ์ ความหมาย ล้างมือ; ตรัส ความหมาย พูดด้วย; ถวายบังคม ความหมาย ไหว้; ทรงถาม, ตรัสถาม ความหมาย ถาม
คำเป็น คำตาย คืออะไร คำเป็น คือ คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกดและคำในมาตรา; คำตาย คือ คำสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง; คำเป็นและคำตายยังมีประโยชน์ต่อการผันเสียงวรรณยุกต์ด้วย
รวบรวมคำศัพท์ วันฮาโลวีน ใกล้วันฮาโลวีนเข้ามาแล้ว วันนี้เรามาเรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวันนี้กัน โดยเราได้รวบรวมมาให้ตามประเภทของคำให้แล้ว ไปดูกันเลย
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง รสชาติ กับ รสชาด เป็นคำที่เขียนผิดกันอยู่บ่อย ๆ ซึ่งจริง ๆ แล้ว รสชาติ เป็นคำที่ถูก โดยจะอ่านออกเสียงว่า รด-ชาด
คำมูล คำมูล หมายถึง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ได้ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำมูลนี้จะเป็นพยางค์เดียว หรือหลายพยางค์ก็ได้ ได้แก่
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)