ค้นเจอ 29 รายการ

ฟังความ

หมายถึงเชื่อฟัง

ตลาด

หมายถึงตลาด (เหมือนกับภาษากลาง)

สีบัว

หมายถึงสีชมภู (ภาษาอีสานตอนบน)

แว่

หมายถึงไปมาหาสู่ เยี่ยมเยือน ความหมายคล้ายกับภาษากลางคำว่า แวะ

ข่า

หมายถึงคนใช้, คนรับใช้ คล้ายกับคำในภาษาไทยคำว่า ข้า, ขี้ข้า

กงห้วย

หมายถึงเขตห้วย เรียก กงห้วย อย่างว่า ฟังยินอุมลัวเหินโฮ่นันกงห้วย (สังข์).

กงราช

หมายถึงเขตเมืองหลวง เรียก กงราช อย่างว่า ฟังยินซว่าซว่าก้องกงราชเป็งจาน (สังข์)

แม่น

หมายถึงใช่ คำว่า แม่น ภาษาอีสานจะออกเสียงว่า แม็น (เสียงสั้น) จะไม่ได้ออกเสียง แม่น ที่แปลว่า เที่ยงตรง ถูกต้อง

กงสถาน

หมายถึงถิ่น, สถาน, ที่ สถานที่เรียก กงสถาน อย่างว่า กงสถานกว้างเกียงลมเลียนตาด (กา)

สะออน

หมายถึงเป็นภาษาพูด (ควมเว้า) ของชาวอีสาน มีความหมายว่า ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, ปลื้ม, น่าชมเชย

กรรมวิธี

หมายถึงระเบียบ, แบบอย่าง, หลักการ การจะทำอะไรไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ต้องให้มีระเบียบแบบอย่าง จึงจะน่าดูน่าชม เช่น จะฟังเทศน์ ฟังคำสั่งสอน จะกราบจะไหว้ต้องให้มีครู อย่างว่า หมกปลาแดกมีครู จี่ปูมีวาด (ภาษิต) ถ้าไม่มีครูจะกลายเป็นว่าหมกปลาแดกหนอนน้อยบ่ตาย (ภาษิต).

ข้อหล้อ

หมายถึงสั้นนิดเดียว เรียก สั้นข้อหล้อ อย่างว่า สั้นข้อหล้อมือยื้อบ่เถิง สูงเจวเววชั่วสามวาฮิ้น (ภาษา).

 ภาษาอีสาน จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ