คำไวพจน์

ในภาษาไทยมีคำศัพท์หลายคำ แม้บางคำจะเขียนต่างกัน แต่กลับมีความหมายเหมือนกัน ขึ้นอยู่กับระดับภาษาและบริบทในการใช้ ซึ่งตามหลักไวยากรณ์จะเรียกคำเหล่านี้ว่า "คําไวพจน์" โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท บทความนี้จะพาไปรู้จักกับคำไวพจน์ให้มากขึ้น พร้อมยกตัวอย่างให้เห็นแบบครบถ้วน
ในบทความนี้ รวบรวมรายชื่อคำไวพจน์ พร้อมความหมาย ทำการจัดหมวด ให้พร้อมนำไปใช้ได้ง่าย และตัวอย่างการใช้งานคำไวพจน์ในโอกาสต่าง ๆ เพื่อผู้สนใจทั่วไปได้ทำความรู้จักและนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

คำไวพจน์ คืออะไร?
คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงไม่เหมือนกัน
คำไวพจน์ เรียกอีกอย่างว่า คำพ้อง คำพ้องความ การหลากคำ คำพ้องรูป คำพ้องความหมาย
ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2552 ให้คำอธิบายว่า
"คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์ กับ คน บ้าน กับ เรือน รอ กับ คอย ป่า กับ ดง คำพ้องความ ก็ว่า"
คำไวพจน์ แบ่งได้กี่ประเภท?
คำไวพจน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คำพ้องรูป 2. คำพ้องเสียง และ 3. คำพ้องความ
*เรามักจะเห็นในแบบคำพ้องความเสียเป็นส่วนใหญ่
ประเภทของคำไวพจน์
ปัจจุบัน มีการศึกษาคำที่พ้อง และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
-
คำพ้องรูป
คือคำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้
ตัวอย่าง คำว่า ชิน
- แปลว่า คุ้นจนเจน
- แปลว่า ผู้ชนะ
- แปลว่า เนื้อโลหะเจือชนิดหนึ่ง -
คำพ้องเสียง
คือคำที่เขียนต่างกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงเหมือนกัน
ตัวอย่าง
- ใจ กับ ไจ
- จร กับ จอน -
คำพ้องความ
คือคำต่างรูป ต่างเสียง แต่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน
ตัวอย่าง
- กิน กับ รับประทาน
- กัลยา กับ นารี
คำไวพจน์ คืออะไร? รวมคำพ้องความหมาย ในหมวดหมู่ต่าง ๆ
รวมคำไวพจน์ตามหมวดหมู่ โดยคัดคำที่นิยมมาให้ ถ้าไม่เห็นในตารางก็กดที่ปุ่มค้นหา เพื่อทำการพิมพ์ค้นหาในช่องค้นหาได้เลย
คำไวพจน์กลุ่ม ธรรมชาติ: | พระอาทิตย์ / น้ำ / แผ่นดิน / ป่า / ดอกไม้ / พระจันทร์ / ภูเขา / ท้องฟ้า / ดอกบัว / ทรัพยากรแร่ธาตุ / ไฟ / ต้นไม้ / แม่น้ำ / ลม / ทะเล / แสง / เมฆ / ดาว / ฝน / ควัน |
คำไวพจน์กลุ่ม พระ/เทวดา: | พระเจ้าแผ่นดิน / เทวดา / พระอินทร์ / พระวิษณุ / เทวดาหญิง / พระพุทธเจ้า / พระอิศวร / พระพรหม / เทวดาผู้หญิง / กษัตริย์ที่เป็นผู้หญิง / พระราม |
คำไวพจน์กลุ่ม สัตว์: | ช้าง / นก / ม้า / ปลา / วัว / ลิง / ควาย / งู / นกยูง / เสือ / ราชสีห์ / หมู / จระเข้ / สัตว์ / เต่า / สิงโต / ไก่ / กวาง / หนู / มด / ช้าง |
คำไวพจน์กลุ่ม คน/มนุษย์: | ผู้หญิง / คน / นางอันเป็นที่รัก / ผู้ชาย / ศัตรู / ลูกชาย / ทหาร / นักปราชญ์ / ลูกหญิง / หมอดู / เมีย / เพื่อน / บุคคล / แม่ / ประชาชน / มนุษย์ |
คำไวพจน์กลุ่ม สถานที่: | เมือง / เมืองหลวง / บ้าน / ทาง / ที่ / อาคาร / วัด |
คำไวพจน์กลุ่ม วรรณคดี/เทพนิยาย: | ยักษ์ / สวรรค์ / ครุฑ / นางอุมา / นรก / ทศกัณฐ์ / พญานาค / ร้อยกรอง |
คำไวพจน์กลุ่ม อวัยวะ/ร่างกาย: | ใจ / ดวงตา / หัวใจ / ร่างกาย / หัว / มือ / เท้า / ทวาร / ปาก |
คำไวพจน์กลุ่ม เหตุการณ์: | สงคราม / ตาย / เกิด |
คำไวพจน์กลุ่ม ทรัพย์สิน: | ทองคำ / เงิน / ทอง |
คำไวพจน์กลุ่ม คำ: | คำพูด / ถ้อยคำ |
คำไวพจน์กลุ่ม คำกริยา: | ไหว้ / เคารพ / ไป / เดิน / คำกริยาแสดงความเคลื่อนไหว |
คำไวพจน์กลุ่ม กาล/เวลา: | กลางคืน / เวลา / ปี |
คำไวพจน์กลุ่ม สี: | สีขาว / สีคราม / สีแดง / สีม่วง |
คำไวพจน์กลุ่ม บอกปริมาณ/ขนาด: | ใหญ่ กว้าง / มาก / เล็ก / เยอะ / จำนวนนับ / จำนวน |
คำไวพจน์กลุ่ม อารมณ์/ความรู้สึก: | หอม / สบาย / โกรธ / ร้องไห้ / คิดถึง / ดีใจ / ทุกข์ / หลงใหล / อารมณ์ / ชื่นชม / เสียใจ / รัก |
คำไวพจน์ ในหมวดหมู่ต่าง ๆ พร้อมความหมายน่ารู้
คำไวพจน์ ประเภทพ้องความหมาย เป็นสิ่งที่พบเห็นบ่อยที่สุดในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในบทกลอน วรรณกรรม วรรณคดี หรืองานเขียนอื่น ๆ และเพื่อให้เข้าใจความหมายอย่างถูกต้อง เราจึงยกตัวอย่างคำไวพจน์หมวดหมู่ต่าง ๆ ไว้ให้ดังนี้

คำไวพจน์ พระอินทร์
- ตรีเนตร
- ท้าวพันตา
- พันเนตร
- มรุตวาน
- มัฆวาน
- วชิรปาณี
- วชิราวุธ
- วัชรินทร์
- สหัสนัยน์
คำไวพจน์ พระอิศวร
- จันทรเศขร
- จันทรเศขร
- ตรีโลกนาถ
- ตรีโลกนาถ
- ทรงอินทรชฎา
- ทรงอินทรชฎา
- บิดามห
- บิดามห
- ปศุบดี
คำไวพจน์ พระวิษณุ
- กฤษณะ
- จักรปาณี
- ธราธร
- ธราธาร
- พระกฤษณ์
- พระจักรี
- พระนารายณ์
- มาธพ
- ศางดี
คำไวพจน์ พระพรหม
- กมลาสน์
- กัมลาศ
- จัตุพักตร์
- ธาดา
- นิรทรุหิณ
- ปรชาบดี
- พระทรงหงส์
- วิธาดา
- สรษดา
คำไวพจน์ พระพุทธเจ้า
- ชินศรี
- พระชินวร
- พระชินสีห์
- พระตถาคต
- พระทศญาณ
- พระทศพลญาณ
- พระธรรมราช
- พระผู้มีพระภาคเจ้า
- พระศากยมุนี
คำไวพจน์ พระเจ้าแผ่นดิน
- กษัตร
- กษัตริย์
- กษัตรีศูร
- ขัตติยวงศ์
- จอมราช
- ท่านไท้ธรณี
- ท้าวธรณิศ
- ธรณิศ
- ธรณิศร
คำไวพจน์ พระราม
- ชมพูพาน
- ชามพูวราช
- นางสีดา
- นิลนนท์
- นิลพัท
- พระพรต
- พระมงกุฎ
- พระราม
- พระลบ
คำไวพจน์ พระอาทิตย์
- ตะวัน
- ทยุมณี
- ทินกร
- ทิพากร
- ทิวากร
- ประภากร
- พรมัน
- ภาณุ
- ภาณุมาศ
คำไวพจน์ พระจันทร์
- กลา
- กัษษากร
- จันทร์
- จันท์
- ตโมนุท
- ตโมหร
- นิศากร
- นิศานาถ
- นิศาบดี
คำไวพจน์ เทวดา
- นางฟ้า
- นิรชรา
- ปรวาณ
- สุร
- สุรารักษ์
- อมร
- เทพ
- เทว
- เทวัญ
คำไวพจน์ เทวดาหญิง
- กินรี
- นางฟ้า
- นางสวรรค์
- เทวี
คำไวพจน์ สวรรค์
- ศิวโลก
- สรวง
- สุขาวดี
- สุคติ
- สุราลัย
- สุริยโลก
- เทวาลัย
- เทวาวาส
- เทวโลก
คำไวพจน์ ผู้หญิง

- กัญญา
- กันยา
- กัลยา
- กัลยาณี
- กานดา
- กามินี
- จอมขวัญ
- ดรุณี
- ดวงตา
- ดวงสมร
- ทรามวัย
- ทรามเชย
- นงคราญ
- นงพะงา
- นงราม
- นงลักษณ์
- นงเยาว์
- นวลหง
- นาฏ
- นารี
- นาเรศ
คำไวพจน์ ผู้ชาย

- กนิษฐภาดา
- กระทาชาย
- กระผม
- กระหม่อม
- กระไทชาย
- กะกัง
- ขันที
- คนดิบ
- คนสุก
- คุณชาย
- ชาย
- ชายชาตรี
- ดอล
- ตัวพระ
- ตี๋
- ต้น
- ทิด
- ท่านชาย
- ท้าว
- ธ
- นายหัว
คำไวพจน์ พระอาทิตย์

- ตะวัน
- ทยุมณี
- ทินกร
- ทิพากร
- ทิวากร
- ประภากร
- พรมัน
- ภาณุ
- ภาณุมาศ
- ภาสกร
- รพิ
- รวิ
- รวี
- ระพี
- สุริยง
- สุริยน
- สุริยะ
- สุริยัน
- สุริยา
- อหัสกร
- อังศุมาลี
คำไวพจน์ กตัญญู
- กตัญญุตา
- กตัญญู
- กตัญญูกตเวที
- กตเวที
- รู้คุณ
- รู้คุณคน
- รู้จักบุญคุณ
- สำนึกบุญคุณ
คำไวพจน์ กลิ่น
- คนธ์
- คันธ
- คันธ-
- คันธะ
- คันธ์
- ฉม
- สุคนธชาติ
- สุคนธรส
- สุคันธรส
- อบอวล
- อาย
- เทวสุคนธ์
- เสารภย์
- เสาวรภย์
คำไวพจน์ กวาง
- กระจง
- กวาง
- กวางผา
- มฤค
- มฤค-
- มฤคี
- มิค
- มิค-
- มิคะ
- รงกุ์
- ละมั่ง
- ละอง
- ละองละมั่ง
- สมัน
- หริณะ
- อีเก้ง
- อุสา
- เก้ง
- เนื้อ
- เนื้อทราย
คำไวพจน์ กษัตริย์ที่เป็นผู้หญิง
- นฤปัตนี
- นางผู้เป็นใหญ่
- นางพญา
- พระมเหสี
- พระราชินี
- มเหสี
- ราชญี
- ราชินี
คำไวพจน์ กุหลาบ
- นวาระ
- บุหงา
- มะวาร
- มาวาร
- ยี่สุ่น
คำไวพจน์ ขอโทษ
- กล่าวคําขอโทษ
- กษมา
- กฺษมา
- ขอขมา
- ขอประทานโทษ
- ขอษมา
- ขออภัย
- ขอโทษ
- ขอโทษขอโพย
- มินตา
- ยกโทษ
- ษมา
- อภัย
- แล้วกัน
คำไวพจน์ คติ
- การไป
- คดี
- ความเป็นไป
- ทิฏฐานุคติ
- บทเรียน
- บุรุษธรรม
- ภาษิต
- ลัทธิ
- วิธี
- วิธี
- สัตบถ
- สุภาษิต
- อนัญคติ
- อุปบัติ
- เวท
- เวท-
- แนวทาง
- แบบอย่าง
คำไวพจน์ คน
- ชน
- นร
- บุรุษ
- มนุษย์
- มรรตย
- มานพ
คำไวพจน์ ครุฑ
- กาศยป
- ขนบคาศน์
- ขเดศวร
- นาคานดก
- นาคานตกะ
- ปันนคนาสน์
- วิษณุรถ
- สุบรรณ
- สุวรรณกาย
- เวนไตย
- ไวนเตยะ
คำไวพจน์ ควัน
- คลุ้ง
- ควัน
- ธุม
- ธุมชาล
- ธุมา
- ธูม
- รม
- อบ
- อัคนิพ่าห์
- อัคนิวาหะ
- เขม่า
- โขมง
- ไอ
คำไวพจน์ ควาย
- กระบือ
- กาสร
- มหิงสา
คำไวพจน์ คำกริยาแสดงความเคลื่อนไหว
- คลาน
- นวย
- ประพาส
- ยุรยาตร
- ลีลา
- เยื้องย่าง
- ไคลคลา
คำไวพจน์ คำพูด
- ถ้อย
- พจนา
- พากย์
- พาที
- วจี
- วัจนะ
- วัจนา
- วาจา
คำไวพจน์ คิด
- ครุ่นคิด
- คะนึง
- คำนึง
- คิดคด
- จินดา
- จินต
- จินต-
- จินต์
- จินต์จล
- ชั่งใจ
- ดำริ
- ตรรก
- ตรรก-
- ตรรกะ
- ตรอง
- ตริ
- ตริตรอง
- ตรึก
- ตรึกตรอง
- ตักกะ
คำไวพจน์ คิดถึง
- คิด
- คิดคำนึง
- คิดถึง
- จดจ่อ
- ถวิล
- นึก
- นึกถึง
- ระลึก
- รำลึก
คำไวพจน์ คือ
- ครือ
- คือ
- ตกว่า
- เท่ากับ
- เมาะ
- ได้แก่
คำไวพจน์ งดงาม
- กะก่อง
- งาม
- จิตร
- จิตร-
- ดี
- ประณีต
- พริ้ง
- มล่าวเมลา
- รงรอง
- รจิต
- รังรอง
- รังเรข
- วิภา
- สวย
- สุทรรศน์
- สุทัศน์
- หาริ
- อภิราม
- แฉล้ม
- แชล่ม
คำไวพจน์ งาม
- ตระการ
- บวร
- พะงา
- รุจิเรข
- วิจิตรตระการตา
- วิศิษฏ์
- สิงคลิ้ง
- อะเคื้อ
- อันแถ้ง
- เสาวภาคย์
- โสภณ
- ไฉไล
คำไวพจน์ งู
- นาคราช
- นาคา
- ภุชงค์
- อสรพิษ
- อหิ
- อุรค
- เงี้ยว
- เทียรฆชาติ
คำไวพจน์ จระเข้
- กุมภา
- กุมภิล
- กุมภีล์
- นักกะ
- นักระ
คำไวพจน์ จิต
- จริม
- จริม-
- จิตต
- จิตต-
- จิตตวิสุทธิ
- จิตต์
- จิตร
- จิตวิสัย
- จิตใจ
- ฌาน
- ประทุฐจิต
- ประทุษฏจิต
- ประทุษฐจิต
- ภวังคจิต
- สมาธิ
- สมุฏฐาน
- หัวจิตหัวใจ
- เจตสิก
- เถยจิต
คำไวพจน์ ฉลาด
- กรด
- กุศล
- คมกริบ
- คมคาย
- จินดาหรา
- ฉลาด
- ฉลาดเฉลียว
- ชํานาญ
- ซุ่มคม
- ธีร
- ธีร-
- ธีระ
- ประทักษ์
- ประพิณ
- ประวีณ
- ปวีณ
- ปัญญา
- พยัต
- พฤทธ์
- พิทูร
คำไวพจน์ ชนะ
- กินดิบ
- ขาดลอย
- ชนะ
- ชย
- ชย-
- ชัย
- ชัย-
- ชัยชนะ
- ชำนะ
- ชิต
- ชิต-
- ชโย
- พิชย
- พิชย-
- พิชัย
- พิชิต
- พิชิต-
- ยาหยัง
- รวด
- ลอยลำ
คำไวพจน์ ชรา
- ชํารุดทรุดโทรม
- ปัจฉิมวัย
- สูงวัย
- หง่อม
- เฒ่า
- เถ้า
- แก่
- แก่ด้วยอายุ
คำไวพจน์ ชีวิต
- ความเป็น
- ความเป็นอยู่
- ชีวัน
- ชีวา
- ชีวิต
- ชีวี
- ร่วมชีวิต
- ลมหายใจ
- วิถีชีวิต
- เกิด
- ไว้ชีวิต
คำไวพจน์ ชื่นชม
- ชมชัว
- ชัวชม
- ชื่นชม
- ชื่นชมยินดี
- ดุษฎี
- ปีติยินดี
- พิสมัย
- รื่นรมย์
- ลลิต
- หฤษฎ์
- หฤหรรษ์
- หื่นหรรษ์
คำไวพจน์ ชื่อ
- ชื่อตัว
- ชื่อตั้ง
- ชื่อย่อ
- ชื่อรอง
- ทินนาม
- นาม
- นามกร
- นามสมญา
- นามแฝง
- นามไธย
- ราชทินนาม
- สมญา
- สมญานาม
- สรรพนาม
คำไวพจน์ ช้าง
- กรินทร์
- กรี
- กุญชร
- คช
- คชา
- คชาธาร
- คชินทร์
- คเชนทร์
- ดำริ
- พลาย
- วารณ
- สาร
- หัตถี
- หัสดินทร์
- หัสดี
- ไอยรา
คำไวพจน์ ดอกบัว
- กมล
- กมลาศ
- กมเลศ
- กระมล
- จงกล
- นิลุบล
- นิโลตบล
- บงกช
- บัว
- บุณฑริก
- บุษกร
- ปทุม
- ปทุมา
- ปัทมา
- สัตตบงกช
- สัตตบรรณ
- สาโรช
- อุทุมพร
- อุบล
- อุบล
คำไวพจน์ ดอกไม้

- บุปผชาติ
- บุปผา
- บุษบง
- บุษบัน
- บุษบา
- บุหงา
- ผกา
- ผกามาศ
- มาลา
- มาลี
- สุคันธชาติ
- สุมาลี
- โกสุม
คำไวพจน์ ดาว
- ชุติ
- ดารกะ
- ดารา
- นักษัตร
- ผกาย
- มฆะ
- มฆา
- มหาอุจ
- มาฆะ
- มูล
- มูละ
- มูลา
- ฤกษ์
- ศนิ
- สิธยะ
- อัศวินี
- อัสสนี
คำไวพจน์ ดีใจ
- กระยิ้มกระย่อง
- ชอบใจ
- ดีอกดีใจ
- ดีเนื้อดีใจ
- ดีใจ
- ตีปีก
- ตื้นตัน
- ตื้นตันใจ
- ปลื้มใจ
- พอใจ
- ภิรมย์
- ยินดี
- ยินมลาก
- ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่
- ยิ้มแต้
- ลิงโลด
- สุมนัส
- หฤษฎ์
- หัวร่อ
- อภินันท
คำไวพจน์ ตาย
- ดับจิต
- บรรลัย
- ปรลัย
- มรณะ
- วายชนม์
- วายชีพ
- วายปราณ
- อาสัญ
คำไวพจน์ ต้นไม้
- ตรุ
- พฤกษ์
- รุกข์
- เฌอ
คำไวพจน์ ถึง
- จด
- จรด
- จวบ
- จวบจวน
- จำรด
- ดล
- ตราบเท่า
- ถั่ง
- ถึง
- บรรลุ
- ประสบ
- พบ
- ร่วม
- ลุ
- ลุถึง
- อาบัน
- ฮอด
- เคจฉะ
- เถิง
คำไวพจน์ ถ้อยคำ
- กถา
- กถาพันธ์
- กถามรรค
- กถามรรคเทศนา
- กถามุข
- คำกล่าว
- คำอธิบาย
- ธรรมกถา
- ปาฐกถา
- สัมโมทนียกถา
- อรรถกถา
- อารัมภกถา
- อารัมภบท
คำไวพจน์ ทรัพยากรแร่ธาตุ
- กำมะถัน
- ก๊าซธรรมชาติ
- ดินขาว
- ดีบุก
- ตะกั่ว
- ถ่านหิน
- ทราย
- ทองคำ
- ทองแดง
- น้ำมันดิบ
- ฟลูออไรท์
- ฟอสเฟส
- วุลแฟรม
- หิน
- อลูมิเนียม
- เกลือ
- เงิน
- เหล็ก
- แคลเซียม
- แมกนีเซียม
คำไวพจน์ ทวาร
- ดาก
- ตูด
- ทวาร-
- วัจมรรค
- ส้วง
- หัวไส้
- หูรูด
- อุจจารมรรค
- เวจมรรค
- ไตรทวาร
คำไวพจน์ ทศกัณฐ์
- กุมภกรรณ
- ขร
- ตรีเศียร
- ทศกัณฐ์
- ทูษณ์
- ท้าวจักรวรรดิ
- ท้าวลัสเตียน
- นางมณโฑ
- นางสำมนักขา
- นางสุพรรณมัจฉา
- นางเบญกาย
- มังกรกัณฐ์
- มารีศ
- สหัสเดชะ
- อินทรชิต
- ไพนาสุริยวงศ์
- ไมยราพ
คำไวพจน์ ทหาร
- กองทัพ
- กองพล
- กองหนุน
- ดุรงคี
- ถเมิน
- ทกล้า
- ทหาร
- ทหารกองเกิน
- ทหารเกณฑ์
- ทหารเลว
- ทเมิน
- ทแกล้ว
- นักรบ
- นาวิกโยธิน
- นาวิน
- บาทภัฏ
- ปัตติก
- พลขับ
- พลรบ
- พลร่ม
คำไวพจน์ ทองคำ
- กนก
- กัมพู
- กาญจน
- กาญจนา
- กาณจน์
- จามีกร
- จารุ
- ชมพูนุท
- ชาตรูป
- มหาธาตุ
- มาศ
- ริน
- สิงคี
- สุพรรณ
- สุวรรณ
- หิรัณย์
- อุไร
- เหม
- โสณ
- ไร
คำไวพจน์ ทะเล
- ทะเล
- น้ำ
- มหาสมุทร
- ลำน้ำ
- สายน้ำ
- สินธุ
- สินธุ์
- สินธู
- แม่น้ำ
คำไวพจน์ ทาง
- กบิล
- ครรลอง
- จรอก
- ชะช่อง
- ด้าน
- ถนน
- ทำนอง
- ทิศ
- ทิศา
- นิยาม
- นิยามครรลอง
- ปริยาย
- ผลู
- มรคา
- มรรค
- มรรค-
- มรรคา
- มัค
- มัค-
- มัคคะ
คำไวพจน์ ที่
- ณ
- ตําบล
- ถิ่น
- ถิ่น
- ที่
- ที่
- ที่อยู่
- บริเวณ
- บ่อเกิด
- ประเทศ
- ปลาก
- พิสัย
- มณฑล
- ศูนย์รวม
- เขต
- แดน
- แว่นแคว้น
- แห่ง
- แห่ง
คำไวพจน์ ทุกข์
- ตรม
- ทุกข
- ทุกข-
- ทุกข์
- ระกำ
- เดือดร้อน
- เศร้า
- เสียใจ
- โศก
คำไวพจน์ ท้องฟ้า
- คคนางค์
- คคนานต์
- ทิฆัมพร
- นภ
- นภดล
- นภา
- นภาลัย
- หาว
- อัมพร
คำไวพจน์ นก
- ทวิช
- ทวิชาชาติ
- ทิชากร
- ทิชาชาติ
- บุหรง
- ปักษา
- ปักษิณ
- ปักษี
- วิหค
คำไวพจน์ นกยูง
- เมารี
- โมร
- โมรี
- โมเรส
คำไวพจน์ นรก
- ทุคติ นารก
- นรก
- นิรย
คำไวพจน์ นักปราชญ์
- ธีระ
- ธีร์
- บัณฑิต
- ปราชญ์
- เธียร
- เมธ
- เมธา
- เมธี
คำไวพจน์ นางอันเป็นที่รัก
- ขวัญตา
- ขวัญอ่อน
- ทรามสงวน
- ทรามสวาท
- สมร
- เยาวมาลย์
- แก้วกับตน
- แก้วกับอก
คำไวพจน์ นางอุมา
- กาตยายนี
- จัณฑี
- นางกาลี
- ภวาณี
- รุทธานี
- เคารี
- ไหมวดี
คำไวพจน์ น้ำ
- คงคา
- ชลธาร
- ชลธี
- ชลาลัย
- ชลาศัย
- ชโลทร
- ทึก
- ธาร
- ธารา
คำไวพจน์ น้ำหวาน
- นลัท
- น้ำดอกไม้
- น้ำผึ้ง
- น้ำหวานในดอกไม้
- น้ำเกสรดอกไม้
- พรนลัท
คำไวพจน์ บุคคล
- เด็ก
- เพื่อน
- แม่
คำไวพจน์ บ้าน
- ครัวเรือน
- คาม
- ที่ซุกหัวนอน
- บ้าน
- บ้านช่อง
- บ้านช่องห้องหอ
- บ้านพัก
- บ้านเรือน
- ภูม
คำไวพจน์ ประชาชน
- ชาวประเทศ
- ประชาชน
- ประชาชี
- ประชาราษฎร์
- พลเมือง
- มหาชน
- ราษฎร
- สาธารณชน
- สามัญชน
คำไวพจน์ ปลา
- ชลจร
- ปุถุโลม
- มัจฉา
- มัจฉาชาติ
- มัสยา
- มิต
- มีน
- มีนา
- วารีชาติ
คำไวพจน์ ปาก
- โอฐ
- โอษฐ
- โอษฐ-
- โอษฐ์
คำไวพจน์ ปี
- กุน
- ขาล
- จอ
- ฉลู
- ชวด
- ชั่วนาตาปี
- ปี
- ปีกลาย
- มะเมีย
คำไวพจน์ ป่า
- ชัฏ
- ดง
- พง
- พงพนา
- พงพี
- พงไพร
- พนัส
- พนา
- พนาดร
คำไวพจน์ ผู้ชาย
- กนิษฐภาดา
- กระทาชาย
- กระผม
- กระหม่อม
- กระไทชาย
- กะกัง
- ขันที
- คนดิบ
- คนสุก
คำไวพจน์ ผู้หญิง
- กัญญา
- กันยา
- กัลยา
- กัลยาณี
- กานดา
- กามินี
- จอมขวัญ
- ดรุณี
- ดวงตา
คำไวพจน์ ฝน
- จั้ก ๆ
- ปรอย ๆ
- พรรษ
- พรรษา
- พรำ
- พรำ ๆ
- พลาหก
- พายุ
- พิรุณ
คำไวพจน์ ภูเขา
- คีรี
- นคะ
- นคินทร
- นคินทร์
- บรรพต
- พนม
- ภู
- ภูผา
- ศิขริน
คำไวพจน์ มด
- ง่าม
- ตะนอย
- ตะลาน
- มดดำ
- มดแดง
- อ้ายชื่น
- เล็น
คำไวพจน์ มาก
- กรด
- กระชอม
- ขู
- ครามครัน
- คลาคล่ำ
- คับคั่ง
- จัด
- ชะมัด
- ชุกชุม
คำไวพจน์ มือ
- กร
- หัตถ
- หัตถ์
คำไวพจน์ ม้า
- ดุรงค์
- พาชี
- มโนมัย
- สินธพ
- อัศว
- อัศวะ
- อัสดร
- อาชา
- อาชาไนย
คำไวพจน์ ยักษ์
- กุมภัณฑ์
- ยักษา
- ยักษิณี
- ยักษี
- รากษส
- ราพณาสูร
- ราพณ์
- รามสูร
- อสุรา
คำไวพจน์ รัก
- ชอบ
- ชอบพอ
- ชอบใจ
- ช่ืนชอบ
- นิยม
- ปฏิพัทธ์
- ปลื้ม
- พิสมัย
- พึงพอใจ
คำไวพจน์ ราชสีห์
- นฤเคนทร์
- สีหราช
- สีห์
- ไกรสร
- ไกรสีห์
คำไวพจน์ ร่างกาย
- กรชกาย
- กาย
- กาย-
- กายา
- กายาพยพ
- มูรดี
- มูรติ
- วปุ
- วิคหะ
คำไวพจน์ ร้องไห้
- กระซิก
- กระอืด
- กระโหย
- กันแสง
- กำสรวล
- กินน้ำตา
- กินน้ำตาต่างข้าว
- ครํ่าครวญ
- งอแง
คำไวพจน์ ลม
- พระพาย
- มารุต
- วาโย
คำไวพจน์ ลิง
- กบินทร์
- กบิล
- กระบี่
- พานร
- พานรินทร์
- วอก
- วานร
- วานรินทร์
คำไวพจน์ ลูกชาย
- กูน
- ตนุช
- บุตร
- ปรัตยา
- เอารส
- โอรส
คำไวพจน์ ลูกหญิง
- ทุหิตา
- ธิดา
- ธิตา
- บุตรี
- สุดา
คำไวพจน์ วัด
- การเปรียญ
- พุทธาวาส
- ราชวรมหาวิหาร
- ราชวรวิหาร
- วรมหาวิหาร
- วรวิหาร
- วัดราษฎร์
- วิหาร
- ศาลาการเปรียญ
คำไวพจน์ วัว
- กระบือ
- กาสร
- ควาย
- คาวี
- ฉลู
- พฤษภ
- มหิงสา
- มหิงส์
- อสุภ
คำไวพจน์ ศัตรู
- ข้าศึก
- คนโกง
- คู่จองเวร
- คู่อริ
- ดัสกร
- ปรปักษ์
- ปรปักษ์
- ปัจจามิตร
- ปัจนึก
คำไวพจน์ สงคราม
- กรุน
- การรบพุ่ง
- จำบัง
- ฉุป
- ฉุป-
- ต่อสู้
- ยุทธ
- ยุทธ-
- ยุทธนา
คำไวพจน์ สบาย
- ตระอาล
- ผาสุก
- พอดี
- พอเหมาะ
- พอเหมาะพอดี
- รวยรื่น
- ร่มเย็น
- สบาย
- สบายอารมณ์
คำไวพจน์ สัตว์
- ปสพ
- ปาณภูต
- ปาณี
- สัตว
- สัตว-
- สัตวชาติ
คำไวพจน์ สิงโต
- จ้าวแห่งสัตว์
- พาฬ
- พาฬ-
- ราชสีห์
- สิงห์
- เกสรี
- เจ้าป่า
- ไกรศร
- ไกรศรี
คำไวพจน์ สีขาว
- ธวัล
- ปัณฑูร
- ศุกร
- ศุภร
- เศวตร
คำไวพจน์ สีคราม
- สีตะพุ่น
- สีน้ำเงิน
- สีฟ้าอ่อน
คำไวพจน์ สีแดง
- ประวาลวรรณ
- มณีราค
- มันปู
- รุธิระ
- รุเธียร
- หง
- เลือดนก
- เลือดหมู
- โรหิต
คำไวพจน์ หนาว
- ศิศิร
- ศิศีระ
- ศีตละ
- สีต
- สีต-
- สีตล
- สีตล-
- หนาว
- หนาวเหน็บ
คำไวพจน์ หนู
- ชวด
- ตะเภา
- พุก
- มุสิก
- มูสิก
- มูสิก-
- มูสิกะ
- หนู
- หริ่ง
คำไวพจน์ หมอดู
- ดูดวง
- พยากรณ์
- พรหมชาติ
- โหร
- โหรา
คำไวพจน์ หมู
- กุน
- จรุก
- วราหะ
- วราห์
- ศูกร
- สุกร
คำไวพจน์ หอม
- กระอวล
- กำยาน
- คันธ
- คันธ-
- คันธะ
- ฉม
- ดอม
- ดอมดม
- ประทิ่น
คำไวพจน์ หัว
- กบาล
- กะลาหัว
- มุทธา
- มูรธ
- มูรธ-
- มูรธา
- ล้าน
- ศีรษะ
- สิร
คำไวพจน์ หัวใจ
- กมล
- กมล-
- กมลา
- กมลาศ
- กระมล
- หทัย
- หฤทัย
- หฤทัย-
- หัวจิตหัวใจ
คำไวพจน์ อาคาร
- บ้าน
- วิหาร
- เคหา
คำไวพจน์ อารมณ์
- จิตใจ
- ธรรมารมณ์
- ปุเรจาริก
- พิชาน
- สติอารมณ์
- อารมณ์
- อาเวค
- เอกัคตา
คำไวพจน์ อาหาร
- ของกิน
- ขาทนียะ
- ธัญญาหาร
- นิตยภัต
- ผลาหาร
- ภักขะ
- ภักษาหาร
- ภัตตาหาร
- ภิกษาหาร
คำไวพจน์ เกิด
- กำเนิด
- ชนม
- ชนม-
- ชนม์
- ชาต
- ชาต-
- ชาตะ
- ถือกำเนิด
- ประภพ
คำไวพจน์ เครื่องนุ่งห่ม
- ภูษา
- วัตถา
- วัตถาภรณ์
- วัตถาลังการ
- วัตถ์
- อาภรณ์
คำไวพจน์ เงิน
- ปรัก
- รัชฎา
- รัชตะ
- หิรัญ
- เงินทอง
คำไวพจน์ เท้า
- ซ่น
- ตีน
- บท
- บทบงกช
- บทศรี
- บัวบาท
- บาท
- บาทา
- ยุคลบาท
คำไวพจน์ เพื่อน
- กัลยาณมิตร
- คู่
- คู่ซี้
- คู่ทุกข์คู่ยาก
- คู่หู
- มิตรภาพ
- มิตรแท้
- วยัสย์
- สขะ
คำไวพจน์ เมฆ
- ขี้เมฆ
- ปัชชุน
- ปโยชนม์
- ปโยธร
- พยับเมฆ
- พลาหก
- วลาหก
- วาริท
- วาริธร
คำไวพจน์ เมือง
- กรุง
- ธานิน
- ธานินทร์
- ธานี
- นคร
- นคร
- นครา
- นครินทร์
- นคเรศ
คำไวพจน์ เมืองหลวง
- ราชธานี
- หัวเมือง
- เมืองศูนย์กลาง
- เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล
คำไวพจน์ เยอะ
- มาก
- หลาย
- เยอะ
- เยอะแยะ
- แยะ
คำไวพจน์ เรียนรู้
- ร่ำเรียน
- เรียน
- เรียนหนังสือ
- เล่าเรียน
คำไวพจน์ เรือ
- ข้างกระดาน
- ฉลากบาง
- ดารณี
- ตูก
- นาวา
- นาวา
- นาวี
- นาเวศ
- ยวดยาน
คำไวพจน์ เล็ก
- กระจิริด
- กระจิ๋ว
- กระจิ๋วหลิว
- กระจุ๋มกระจิ๋ม
- กระจ้อน
- กระจ้อยร่อย
- กริ้งกริ้ว
- กะแอ
- กิ่งก้อย
คำไวพจน์ เวลา
- กลางวัน
- กลาางคืน
- กัลปาวสาน
- กาล
- ครู่
- คืน
- จิรกาล
- จิรัฐิติกาล
- ทินาท
คำไวพจน์ เสือ
- ขาล
- พยัคฆา
- พยัคฆ์
- พาฬ
- ศารทูล
คำไวพจน์ แผ่นดิน
- กษมา
- ด้าว
- ธรณิน
- ธรณี
- ธรา
- ธราดล
- ธริษตรี
- ธาตรี
- ธาษตรี
คำไวพจน์ แม่
- ชวด
- ชเนตตี
- ทวด
- ผู้ให้กำเนิด
- มาดา
- มาตฤ
- มาตา
- มาตุ
- มาตุรงค์
คำไวพจน์ แม่น้ำ
- คลอง
- ชลาสินธุ์
- ทะเล
- น้ำ
- มหาสมุทร
- ลำน้ำ
- ลุ่มน้ำ
- สทิง
- สายชล
คำไวพจน์ แสง
- กร
- กระแสง
- จัดจ้า
- ฉาย
- ฉิน
- ทีป
- ทีปะ
- นิภา
- บริราช
คำไวพจน์ โกรธ
- กริ้ว
- ขัดเคือง
- ขัดแค้น
- ขัดใจ
- ขึ้ง
- ขึ้งเคียด
- ขึ้งโกรธ
- ขุ่นเคืองใจอย่างแรง
- ขุ่นแค้น
คำไวพจน์ ใจ
- กมล
- ดวงหทัย
- ดวงแด
- ดวงใจ
- มน
- มโน
- ฤดี
- ฤทัย
- หฤทัย
คำไวพจน์ ใหญ่ กว้าง
- พิบูลย์
- มหันต์
- มหา
- มหึมา
- มโหฬาร
- ไพศาล
คำไวพจน์ ไก่
- กุกกุฏ
- กุกกุฏ-
- ตะเภา
- ระกา
- อัณฑชะ
- อู
- เยีย
- ไก่ต่อ
- ไก่บ้าน
คำไวพจน์ ไป
- ครรไล
- คระไล
- จร
- จร
- จากไป
- ดำเนิน
- ตู
- ถั่ง
- ยาตรา
คำไวพจน์ ไฟ
- กูณฑ์
- ปราพก
- อัคคี
- อัคนี
- เดช
- เพลิง
คำไวพจน์ ไหว้
- กราบ
- คารวะ
- คำนับ
- ถวายบังคม
- นอบนัอม
- บูชา
- ประณต
- ประณม
- วันทา
ความหมายของคำไวพจน์
คำไวพจน์ เป็นชื่อเรียกคำในภาษาไทยอีกพวกหนึ่ง มีความหมายต่างกันเป็น 2 นัย หรือเรียกอีกอย่างว่า การหลากคำ
- นัยหนึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ให้คำอธิบายว่า "คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์ กับ คน บ้าน กับ เรือน รอ กับ คอย ป่า กับ ดง คำพ้องความ ก็ว่า" (พจนานุกรม 2542 หน้า 1091)
- และในที่เดียวกันนี้ได้ให้ความหมายที่พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) กล่าวไว้ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ด้วยว่า หมายถึง "คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส กับ ไส โจทก์ กับ โจทย์ พาน กับ พาล ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง"
- ปัจจุบันเราจะพบเห็นในลักษณะของ คำพ้องความหมาย
การนำคำไวพจน์ไปใช้
ตัวอย่างการใช้คำไวพจน์ในบทกลอน บทกวี
มืดสิ้นแสงเทียนประทีปส่อง ก็ผ่องแสงจันทร์กระจ่างสว่างส่ง
บุปผชาติสาดเกสรขจรลง บุษบงเบิกแบ่งระบัดบาน
เรณูนวลหวนหอมมารวยริน พระพายพัดประทิ่นกลิ่นหวาน
เฉื่อยฉิวปลิวรสสุมามาลย์ ประสานสอดกอดหลับระงับไป
กลอนบทนี้จะพบคำไวพจน์ดังนี้
- บุปผชาติ, บุษบง, สุมามาลย์ = ดอกไม้
- ขจร = ฟุ้ง, กระจาย
- พระพาย = ลม
คำไวพจน์ มาจากอะไร?
คำไวพจน์ อ่านว่า ไว-พด
คำไวพจน์ มาจาก ภาษาบาลีว่า “เววจน” (เว-วะ-จะ-นะ)
รากศัพท์มาจาก วิ + วจน
ยังไม่หมดเพียงเท่านี้ หากต้องการหาคำไวพจน์คำไหนก็สามารถพิมพ์คำค้นหาได้เลย หรือจะไปดูหมวดหมู่ที่คัดแยกไว้ให้แล้วโดยตรงก็ได้
คําไวพจน์ ถือเป็นความงดงามทางภาษาไทย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมภาษาที่สืบทอดต่อ ๆ กันผ่านงานวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ ทั้งกาพย์กลอน ซึ่งอย่สงที่เรารู้ว่าภาษาไทยนั้นมีคำยืมมาจากหลายภาษา คือได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต-บาลี ผสมกลืนกลายจนกลายเป็นความสละสลวย ก็จะเป็นเราเองที่ต้องเลือกนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับภาษาระดับต่าง ๆ
Download PDF
สำหรับใครที่อยากได้คำไวพจน์ ในรูปแบบไฟล์ PDF สามารถกดที่ปุ่มดาวน์โหลดได้เลย
PDF – ตัวอย่าง คำไวพจน์ ที่ใช้บ่อย
รู้หรือไม่?
-
คำไวพจน์ คืออะไร?
คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงไม่เหมือนกัน
-
คำไวพจน์ มีกี่ประเภท?
คำไวพจน์ มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ 1.คำพ้องรูป 2.คำพ้องเสียง และ 3.คำพ้องความ