ค้นเจอ 7,247 รายการ

 หรือคุณกำลังค้นหา สุ, เสาว,เสาว-, , เหมาะ, อนีจะ

สุ

หมายถึงคำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ดี งาม ง่าย สำหรับเติมข้างหน้าคำ เช่น สุคนธ์. (ป., ส.).

เสาว,เสาว-

หมายถึง[-วะ-] ว. ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).

เหมาะ

หมายถึงว. ดี เช่น ได้โอกาสเหมาะ, พอดี เช่น กำลังเหมาะ, สมควร เช่น โอกาสนี้ไม่เหมาะจะเข้าพบผู้ใหญ่, คู่ควร เช่น ๒ คนนี้เหมาะกัน.

อนีจะ

หมายถึงว. ไม่ตํ่า, ดี, งาม, น่านับถือ. (ป., ส.).

ดี ๆ

หมายถึงว. ปรกติ, เฉย ๆ, เช่น อยู่ดี ๆ ก็มีคนเอาเงินมาให้; โดยดี, ไม่ขัดขืน, เช่น มาเสียดี ๆ.

อรรถคดี

แยกคําสมาสเป็นอรรถ + คดี

เพ็ญรดี

แปลว่าเปี่ยมไปด้วยความยินดี

วันอังคาร+2

ณัชวดี

แปลว่าหญิงผู้มีความรู้

วันอังคาร+2

เยาวดี

แปลว่าหญิงสาว

วันอังคาร+4

หรรษวดี

แปลว่าหญิงที่ร่าเริง

วันอังคาร+3

สุวดี

แปลว่ามีความดีงาม

วันอังคาร+3