ค้นเจอ 3,884 รายการ

ปักษ,ปักษ-,ปักษ์

หมายถึง[ปักสะ-, ปัก] น. ฝ่าย, ข้าง, เช่น ปักษ์ใต้, กึ่งของเดือนจันทรคติ คือ เดือนหนึ่งมี ๒ ปักษ์ ข้างขึ้นเรียก ศุกลปักษ์ (แปลว่า ฝ่ายขาว หมายเอาแสงเดือนสว่าง) ข้างแรมเรียก กาฬปักษ์ (แปลว่า ฝ่ายดำ หมายเอาเดือนมืด), ครึ่งเดือน เช่น หนังสือรายปักษ์. (ส.; ป. ปกฺข).

อาคม

หมายถึง[-คม] น. เวทมนตร์, บางทีใช้คู่กับ คาถา เป็น คาถาอาคม; การมา, การมาถึง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น มีนาคม คือ มีน + อาคม แปลว่า การมาถึงราศีมีน. (ป., ส.).

จลา

หมายถึง[จะ-] (แบบ) น. ธูป, ของหอม; แสงสว่าง, ฟ้าแลบ, เช่น จลาจเลนทร์. (ม. คำหลวง แปลจากคำ คนฺธมาทโน; ส. จล + อจล + อินฺทฺร).

CC

แปลว่าย่อมาจาก Carbon copy แปลว่า ส่งสำเนาถึง เป็นอีเมลที่ผู้ส่งต้องการให้ผู้รับทราบเรื่องเท่านั้น ไม่ได้มีความตั้งใจจะส่งให้โดยตรง ผู้รับไม่จำเป็นต้องตอบกลับ

abbr

คำพูดที่ใช้บอกฝ่ายตรงข้ามให้สบายใจว่าผู้พูดไม่ถือสา แปลว่า ไม่เป็นไร

ภาษาญี่ปุ่น構いません

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นかまいません

exp

ผะ

หมายถึงใช้นำหน้าคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ผ มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ผะผก ผะผ่อง ผะผ้าย ผะผ่าว ผะผํ้า.

ทศกัณฐ์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅

ทศกัณฑ์ เป็นคำที่เขียนผิด ❌

กุรระ,กุรุระ

หมายถึง[กุระระ, กุรุระ] (แบบ) น. นกเขา, แปลว่า เหยี่ยว ก็มี เช่น แม่กุรร์จาปน้อยหาย แลนา. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป., ส. กุรร).

อน,อน-

หมายถึง[อะนะ-] เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. (ดู อ ๒ ประกอบ).

อุปะ

หมายถึง[อุปะ, อุบปะ] คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. (ป., ส.).

ยะ

หมายถึงคำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย.

งะ

หมายถึง(โบ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ง เป็นพยัญชนะต้น มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น งะงก งะงัน งะโง้ง.