ค้นเจอ 222 รายการ

ปราโมทย์

คำบาลีปาโมชฺช

คำสันสกฤตปฺรโมท+ย

ยะ

หมายถึงคำประกอบข้างหน้าคำที่ตั้งต้นด้วย ย ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น ยะยอง ยะยั่ง ยะยัด ยะย้อย ยะย้าย.

วรวิหาร

คำบาลีวร+วิหาร

คำสันสกฤตวร+วิหาร+ย

ตัวหารร่วมมาก

หมายถึงน. จำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดซึ่งนำไปหารจำนวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จำนวนขึ้นไปได้ลงตัวพอดี เช่น ๗ เป็นตัวหารร่วมมากของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ห.ร.ม.

สยช.

ย่อมาจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ

อาชาไนย

คำบาลีอาชาเนยฺย

คำสันสกฤตอา+ชฺญา, อา+ชนฺ+ย

อาชา

คำบาลีอาชาเนยฺย

คำสันสกฤตอา+ชฺญา, อา+ชนฺ+ย

อาศิร-,อาศิร- ,อาศิร-,อาเศียร,อาเศียร-

หมายถึง[อาสิระ-, -เสียนระ-] น. การอวยพร. (ส. อาศิสฺ คำนี้เมื่อนำหน้าอักษรตํ่าและตัว ห ต้องเปลี่ยน ส เป็น ร เป็น อาศิร และแผลงเป็น อาเศียร ก็มี; ป. อาสิ ว่า ความหวังดี).

ตาลุชะ

หมายถึง(ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานแข็ง ได้แก่พยัญชนะวรรค จ คือ จ ฉ ช ฌ ญ และอักษร ย สระอิ อี รวมทั้ง ศ ในภาษาสันสกฤต. (ป.; ส. ตาลวฺย).

กัณฐชะ

หมายถึง(ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดจากเส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. (ป.; ส. กณฺวฺย).

ปัจเจก

แยกคำสมาสแบบสนธิเป็นปฏิ + เอก=> ปฎเยก

ปัจจามิตร

แยกคำสมาสแบบสนธิเป็นปฏิ + อมิตร => ปฎยมิตร