คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "วัว" คือ กระบือ กาสร ควาย คาวี โค ฉลู พฤษภ มหิงสา มหิงส์ อสุภ
คำไวพจน์: กระต่าย - คำไวพจน์ของ กระต่าย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ ศศ ศศะ หริณะ
คำไวพจน์: เต่า - คำไวพจน์ของ เต่า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "เต่า" คือ กระ กัศยป กูรม กูรมะ จริว จะละเม็ด จิตรจุล นักกะ
กริยา 3 ช่อง รวมหมวด A-Z (ต่อ 2) หลักการจำ กริยา 3 ช่อง ง่ายมาก เพียงแค่ให้นึกถึง สูตรคูณคณิตศาสตร์ก็สามารถท่องได้ เพราะหลักของ กริยา 3 ช่อง ส่วนใหญ่ออกเสียงคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนนิดหน่อย ตามแต่ Tense นั้นๆ ที่ใช้ หลังจากเรียนคำกริยา 3 ช่องแล้ว เราก็ควรไปเรียนเรื่อง Tense ต่อ จะได้เข้าใจและใช้งานได้ถูกต้อง
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 2 : Number Prefixes Number Prefixes ซึ่งก็คือส่วนที่เติมไปหน้าคำแล้วทำให้คำมีความหมายเกี่ยวกับตัวเลข คำศัพท์เหล่านี้ก็เป็นคำที่เราเจอบ่อยๆ และใช้กันอยู่ทุกๆ วัน
กริยาช่อง 3 สัปดาห์ก่อนเราได้รู้จักกริยาช่อง 2 ไปแล้ว วันนี้เรามารู้จักกริยาช่อง 3 หรือกริยาช่องที่ 3 จากเรื่องกริยา 3 ช่อง กันต่อเลย เนื่องด้วยในภาษาอังกฤษแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 ช่อง เพื่อแบ่งแยกและบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยที่กริยาช่อง 3 นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต แล้วมันจะต่างอะไรกับกริยาช่องที่ 2 หล่ะ เดี๋ยววันนี้เราไปดูรายละเอียดกันเลยดีกว่า
แจกกริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อย ท่องจำง่าย พร้อมคำแปล กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ ท่องจำง่ายๆ ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน เรียนรู้เรื่อยๆ พอคุ้นแล้วก็จะเห็นเองว่ามันจำได้ง่ายๆ ขนาดไหน เพราะที่ต้องจำจริงๆ มีเพียงไม่กี่คำ
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง เพียงแค่เติม -ed ต่อท้าย แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
คำไวพจน์: จระเข้ - คำไวพจน์ของ จระเข้ พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "จระเข้" คือ กุมภา กุมภิล กุมภีล์ ตะโขง ไอ้เคี้ยง ตะเข้ แร้ นักกะ นักระ สุงสุมาร
คำไวพจน์: สิงโต - คำไวพจน์ของ สิงโต พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ จ้าวแห่งสัตว์ พาฬ ราชสีห์ สิงห์ เกสรี เจ้าป่า ไกรศร ไกรศรี ไกรสร ไกรสรี นฤเคนทร์ สีหราช สีห์
คำไวพจน์: ไก่ - คำไวพจน์ของ ไก่ พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ไก่" คือ กุน จรุก วราหะ วราห์ ศูกร สุกร