ค้นเจอ 5,760 รายการ

วิญญู

หมายถึงน. ผู้รู้แจ้ง, นักปราชญ์. (ป.; ส. วิชฺ).

เทศ,เทศ-,เทศะ

หมายถึง[เทด, เทดสะ-, เทสะ] ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.

ผะ

หมายถึงใช้แทน ประ เช่น ผะเด ผะเด็น ผะแดง ผะเทศ.

คุยหฐาน

หมายถึง(ราชา) น. อวัยวะที่ลับ ใช้ว่า พระคุยหฐาน. (ป. คุยฺห + ฐาน; ป. คุยฺห + ส. ปฺรเทศ).

คุยหประเทศ

หมายถึง(ราชา) น. อวัยวะที่ลับ ใช้ว่า พระคุยหฐาน. (ป. คุยฺห + ฐาน; ป. คุยฺห + ส. ปฺรเทศ).

บร,บร-

หมายถึง[บอระ-] (แบบ; กลอน) น. ฝ่ายอื่น เช่น บรเทศ, ข้าศึก เช่น บรปักษ์. (ป., ส. ปร).

ตรีอากาศผล

หมายถึงน. ผลแก้อากาศธาตุ ๓ อย่าง คือ ขิง กระลำพัก อบเชยเทศ.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป ที่ขึ้นต้นของคำหรือพยางค์ในภาษาบาลีและสันสกฤตมักแผลงมาเป็นตัว บ ในภาษาไทย เช่น ปท ปิตา เป็น บท บิดา.

ตรีสมอ

หมายถึงน. สมอ ๓ อย่าง คือ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ.

ตะพง

หมายถึง(แบบ) ว. ตะโพง เช่น แล้วตะพงพายรีบกลับไป. (นิ. เมืองเทศ).

ประ,ประ-,ประ-

หมายถึง[ปฺระ] ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร เช่น ประทม เป็น บรรทม.

ปริ,ปริ-,ปริ-

หมายถึง[ปะริ-] เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล.

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ