ค้นเจอ 614 รายการ

ธนุ,ธนุรญ

หมายถึง(แบบ) น. ธนู. (ป.).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรตํ่า และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ.

ทุกร,ทุกร-

หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).

สุญ,สุญ-,สุญญ,สุญญ-

หมายถึง[สุน, สุนยะ-] ว. ว่างเปล่า. (ป. สุญฺ; ส. ศูนฺย).

มิญช,มิญช-

หมายถึง[มินชะ-] น. เยื่อ, แก่นหรือเมล็ด. (ป.).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).

สิญจ,สิญจ-,สิญจน์

หมายถึง[สินจะ-, สิน] ก. รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. (ป., ส.).

ถัณฑิล,ถัณฑิลญ

หมายถึง[ถันทิน, ถันทินละ-] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ป.).

มุญชะ

หมายถึง[มุนชะ] น. พืชจำพวกหญ้าปล้อง; ปลาค้าว. (ป., ส.).

กาญจน,กาญจน-,กาญจนา

หมายถึง[กานจะนะ-] (แบบ) น. ทอง. (ส.; ป. กญฺจน).

ขรรคะ,ขรรคา

หมายถึง[ขักคะ, ขันคา] (แบบ) น. แรด เช่น หนึ่งนบสิขานนนารถ เถลิงขรรคาอาศน์ แลยาตรอัมพรแผ่นพาย. (ดุษฎีสังเวย). (ป. ขคฺค; ส. ขฑฺค).

อสุร,อสุร-

หมายถึง[อะสุระ-] น. อมนุษย์พวกหนึ่งเป็นศัตรูต่อเทวดา, แทตย์, ยักษ์, มาร, ผี. (ป., ส. อสุร).

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ