ค้นเจอ 124 รายการ

ไตรปิฎก

หมายถึงพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า มี 3 ปิฎก คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก.

ก๊งโก๋ะ

หมายถึงอาการยืนหรือเดินทำหลังโก่งค่อม และมักจะมีคำสร้อยต่อว่า ก๊งโก๋ะก๊งโก้ย ก๊มโก๋ะ ก็เรียก

วจีกรรม

หมายถึงการพูด การกระทำทางวาจา (ป. วจีกมฺม).

หล่วยหล่าย

หมายถึงเลื้อย, ลักษณะการเลื้อยของงู, อาการที่คล้ายการเลื้อยของสัตว์เลื้อยคลาน

หมากค้อ

หมายถึงตะคร้อ ต้นไม้ผลออกเป็นพวงคล้ายมะไฟ ให้รสเปรี้ยวจัด

ค่ำม้อย ๆ

หมายถึงค่ำลงเรื่อย ๆ, ค่อย ๆ มืดลง ๆ

นวังคสัตถุศาสน์

หมายถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า มีองค์ ๙ คือ สุตตะ เคยยะ เวยยา กรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัมภูตธรรม เวทัลละ (ป.).

ก้อย

หมายถึงชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทำจากเนื้อ ปลา กุ้ง ที่ดิบ ๆ คล้ายลาบ

ข้องลอย

หมายถึงเป็นพาชนะใส่ปลาจักสานด้วยไม้ไผ่มีรูปร่างคล้ายๆเป็ด

กะซาก

หมายถึง(กริยา) กระชาก ดึงเข้ามาโดยเร็วและแรง เช่น กระซากผม, โดยปริยายหมายความว่า กระตุกโดยแรง เช่น ออกรถกระซาก, พูดกระแทกเสียงดังห้วน ๆ ในความว่า พูดกระซากเสียง

โต

หมายถึง(น.) รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ (น.) ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า 5 ตัว ตะปู 3 ตัว เสื้อ 3 ตัว (น.) ใช้เรียกผู้ที่ตนพูดด้วยในฐานะคนเสมอกันที่สนิทกัน เช่น ตัวจะไปไหม

โล่ง

หมายถึงพูดคล่องเรียก เว้าโล่ง ไม้ที่ผ่าง่ายไม่เสี้ยวเรียก ไม้โล่ง คิดออกซอกเห็นเรียก โล่งอกโล่งใจ หายใจสะดวกเรียก หันใจโล่ง ทางตรงเรียก ทางโล่ง อย่างว่า เมืองเมืองม้าอานคำห้างหิ่ง ทางโล่งเท้าขวางกว้างฮอดปะกัน (ฮุ่ง).

 ภาษาอีสาน จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ