ค้นเจอ 115 รายการ

บาดว่า

หมายถึงถึงที ถึงคราว คำที่คล้ายกัน บัดว่า

มะล่องก่องแก่ง

หมายถึงเป็นคำที่ไม่มีความหมาย เหมือนเป็นคำสร้อยที่แสดงถึงการไร้สาระ ไร้แก่นสาร

ขี้ม้า

หมายถึงชื่อขนมชนิดหนึ่ง มีลักษณะเหมือนขี้ม้า เรียก เข้าหนมขี้ม้า.

อกุศลกรรมบถ

หมายถึงทางแห่งความชั่ว ทางบาป มี ๑๐ อย่าง คือ เกิดแต่กาย เรียก กายทุจริต ๓ ได้แก่ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม เกิดแต่วาจา เรียก วจีทุจริต ๔ ได้แก่พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ เกิดแต่ใจ เรียก มโนทุจริต ๓ ได้แก่โลภอยากได้ของคนอื่น ปองร้ายเขา เห็นผิดจากคลองธรรม เรียก อกุศลกรรมบถ (ป. ส.).

ไหย้

หมายถึงบังเหียน บังเหียนที่ใช้สวมปากม้าเวลาขี่ เรียก ไหย้ม้า บังเหียน หมากเหียน ก็ว่า.

โต

หมายถึง(น.) รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ (น.) ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า 5 ตัว ตะปู 3 ตัว เสื้อ 3 ตัว (น.) ใช้เรียกผู้ที่ตนพูดด้วยในฐานะคนเสมอกันที่สนิทกัน เช่น ตัวจะไปไหม

โล่ง

หมายถึงพูดคล่องเรียก เว้าโล่ง ไม้ที่ผ่าง่ายไม่เสี้ยวเรียก ไม้โล่ง คิดออกซอกเห็นเรียก โล่งอกโล่งใจ หายใจสะดวกเรียก หันใจโล่ง ทางตรงเรียก ทางโล่ง อย่างว่า เมืองเมืองม้าอานคำห้างหิ่ง ทางโล่งเท้าขวางกว้างฮอดปะกัน (ฮุ่ง).

แม่น

หมายถึงใช่ คำว่า แม่น ภาษาอีสานจะออกเสียงว่า แม็น (เสียงสั้น) จะไม่ได้ออกเสียง แม่น ที่แปลว่า เที่ยงตรง ถูกต้อง

กถามุข

หมายถึงคำนำ, ข้อความเบื้องต้นของเรื่อง, คำที่เป็นแนวทาง (ป.).

กิ่ว

หมายถึงคอด หรือเล็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึงกำลังจะขาด

กึ่ม

หมายถึงเป็นคำด่า เสียดสี ประมาณว่าโง่ ไม่เอาไหน

ท้าว

หมายถึงคำแทนใช้นำหน้าเรียกคน

 ภาษาอีสาน จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ