ค้นเจอ 1,131 รายการ

คำโท

หมายถึง(ฉันทลักษณ์) น. คำที่มีเครื่องหมายวรรณยุกต์โทกำกับอยู่ไม่ว่าคำนั้นจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใด เป็นคำบังคับในการแต่งโคลง เช่น ข้า คว้า แล้ว.

ปฐมบุรุษ

หมายถึง[ปะถมมะ-, ปะถม-] น. บุรุษที่ ๑, ตามไวยากรณ์ ได้แก่ สรรพนามพวกที่ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น ข้า เรา แต่ตามไวยากรณ์บาลีหมายถึงพวกที่เราพูดถึง เช่น เขา.

สีเสียดแก่น

หมายถึงดู สีเสียด ๑ (๑).

พริกแกว

หมายถึงดู ขี้หนู ๑ (๑).

ถั่วนา

หมายถึงดู กระด้าง ๑ (๑).

เคจฉะ

หมายถึง[เคดฉะ] (แบบ) ก. ไป, ถึง, เช่น ผู้ข้าคุงควรเคจฉเล็ดลอดลุเขาคด. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. คจฺฉ).

สมจร

หมายถึงก. ร่วมประเวณี เช่น เจ้าสมจรด้วยเมียข้าคนตนเองไซ้ ท่านให้ไหมให้ผัวมันเปนไท... ข้าสมจรด้วยกันพ่อแม่แลเจ้าข้ามิให้แลมันภากันหนีไกล... (สามดวง) มีนิทานเรื่องนางนาคสมจรกับงูดิน.

ลูกเอ็น,ลูกเอ็ล

หมายถึงดู กระวาน ๑ (๑).

สีเสียดเหนือ

หมายถึงดู สีเสียด ๑ (๑).

ระกำนา,ระกำป่า

หมายถึงดู ระกำ ๑ (๑).

เปราะหอม

หมายถึงดู เปราะ ๑ (๑).

ดำรวจ

หมายถึง[-หฺรวด] (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก ตรวจ) ก. ตรวจตรา, พิจารณา, เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดำรวจดารทาน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ