ค้นเจอ 2,045 รายการ

การ,-การ,-การ

หมายถึงน. ผู้ทำ, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคำบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคำอื่นที่ไม่ใช่คำศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ.

ฉันนั้น

หมายถึงส. อย่างนั้น, เช่นนั้น, (เป็นคำรับใช้เข้าคู่กับคำ ฉันใด).

เจริญพร

หมายถึงเป็นคำเริ่มที่ภิกษุสามเณรพูดกับสุภาพชน และเป็นคำรับ.

ถ้อยแถลง

หมายถึง[-ถะแหฺลง] น. คำชี้แจง, คำประกาศ, คำอธิบายเป็นทางการ.

ถวายพระพร

หมายถึงคำเริ่มที่พระสงฆ์พูดกับเจ้านายและเป็นคำรับ.

งะ

หมายถึง(โบ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ง เป็นพยัญชนะต้น มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น งะงก งะงัน งะโง้ง.

เป็น

หมายถึงก. คำกริยาสำหรับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำกับคำเพื่อให้เห็นว่าคำหน้าและคำหลังมีภาวะ คือ ความมี ความเป็น เกี่ยวข้องกันอย่างไร เช่น ท่านเป็นเจ้า เขาเป็นนาย.

ปฤจฉาสรรพนาม

หมายถึง(ไว) น. คำแทนชื่อที่เป็นคำถาม เช่นคำ “ใคร” ฯลฯ.

น้อยหรือ

หมายถึงว. คำแสดงความหมายว่า มาก; คำเปล่งแสดงความไม่พอใจ เช่น น้อยหรือทำได้, ตัดพ้อต่อว่าด้วยความเอ็นดู เช่น น้อยหรือช่างว่า.

เวณะ

หมายถึงน. ช่างจักสาน. (ป.; ส. ไวณ).

โคนสมอ

หมายถึง[-สะหฺมอ] น. ชื่อพระพิมพ์สกุลช่างหนึ่ง.

สถบดี

หมายถึง[สะถะบอดี] (แบบ) น. ช่างก่อสร้าง, ช่างไม้. (ส. สฺถปติ; ป. ถปติ).

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ