ค้นเจอ 555 รายการ

ตำลึง

หมายถึงน. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๔ บาท เท่ากับ ๑ ตำลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (อักขระพิเศษ) หมายความว่า ๔ ตำลึง; ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๔ บาท หรือ ๖๐ กรัม. (ข. ฎํฬึง, ตมฺลึง).

โยทะกา

หมายถึงน. ตาขอเหล็กชนิดหนึ่ง มี ๓-๔ ขา สำหรับเกี่ยวหรือสับ.

หืน

หมายถึง(กลอน) ว. หิน, เลว, ทราม, ตํ่าช้า. (ดู หิน ๔, หิน-).

อรูปภพ

หมายถึง[อะรูบปะพบ] น. ภพของผู้ที่ได้อรูปฌาน ๔, อรูปภูมิ ก็ว่า.

ตะปูควง

หมายถึงน. ตะปูที่มีเกลียว หัวเป็นร่องหรือเป็น ๔ แฉก ใช้ไขควงไข.

กฤดายุค

หมายถึง[กฺริดา-] น. ชื่อยุคแรกของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้มนุษย์มีธรรมะสูงสุด คือ เต็ม ๔ ใน ๔ ส่วน และมีอายุยืนยาวที่สุด. (ส. กฺฤตยุค). (ดู จตุรยุค).

วันตรุษ

หมายถึงน. วันสิ้นปีซึ่งกำหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔.

รูปภพ

หมายถึง[รูบปะพบ] น. ภพของผู้ที่ได้รูปฌาน ๔, รูปภูมิ ก็ว่า.

กระเบียด

หมายถึงน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว.

คุมธาตุ

หมายถึงก. ทำให้ธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ในร่างกายเป็นปรกติสมํ่าเสมอกัน.

แปดสาแหรก

หมายถึง[-แหฺรก] น. คำเรียกต้นวงศ์สกุล คือ บิดามารดาของปู่และย่า ๔ ของตาและยาย ๔ รวมเป็น ๘ ที่เป็นผู้ดีทั้งฝ่ายบิดาและมารดา เรียกว่า ผู้ดีแปดสาแหรก (เทียบสาแหรกที่มีข้างละ ๔ ขา ๒ ข้างเป็น ๘ ขา). (ดู ผู้ดีแปดสาแหรก).

พิศ

หมายถึง[พิด] ว. ยี่สิบ. น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท ว่า ทองพิศ. (ส. วึศ; ป. วีส).

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ