ตัวกรองผลการค้นหา
ตีบทแตก
หมายถึงก. แสดงได้แนบเนียนสมบทบาท.
สิทธัตถะ
หมายถึงพระนามพระพุทธเจ้า
วรรณ,วรรณ-,วรรณะ
หมายถึง[วันนะ-] น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. (ส. วรฺณ; ป. วณฺณ).
กุมภนิยา
หมายถึงน. ชื่อพิธีชุบศรพรหมาสตร์ของอินทรชิตในเรื่องรามเกียรติ์.
ทรหู,ทรฮู
หมายถึง[ทอระ-] (กลอน) ก. ดิ้นรนอยากรู้, ร้องดัง, เช่น ในเมื่อกูไห้ทรหูรํ่าร้อง. (ม. คำหลวง ชูชก).
แม่งม้าง
หมายถึง(กลอน) ก. เริดร้าง เช่น สมุทโฆษว้างพินทู แม่งม้าง. (หริภุญชัย).
ภิงคาร
หมายถึงน. หม้อนํ้า, เต้านํ้า. (ป.; ส. ภฺฤงฺคาร).
หมายถึงผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว
อุทบาน
หมายถึง[-บาน] น. บ่อนํ้า, สระน้ำ. (ป., ส. อุท + ปาน).
โปกขร,โปกขร-
หมายถึง[โปกขะระ-] น. โบกขร, ใบบัว. (ป.).
สุทธ,สุทธ-,สุทธ์
หมายถึงว. หมดจด, สะอาด; ล้วน, แท้. (ป.).
ฉันท-,ฉันท-,ฉันท์,ฉันท์,ฉันทะ
หมายถึงน. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น มอบฉันทะ. (ป.).