ตัวกรองผลการค้นหา
เครียด
หมายถึง[เคฺรียด] ว. จัด เช่น ตึงเครียด, อาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะครํ่าเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป เช่น หน้าเครียด อารมณ์เครียด.
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด เกื้อกูลสังคม
คำสแลงไทยที่นิยมใช้และพบเห็นบ่อย
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
สุภาษิตไทยเกี่ยวกับการเมือง
สังคม,สังคม-
หมายถึง[-คมมะ-] น. คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท; วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. ว. ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งานสังคม. (ป.).
แม้
หมายถึงสัน. ผิ, หาก, เช่น แม้ฝนตก ฉันก็จะมา, ใช้ว่า แม้น ก็มี; คำสนับสนุนข้ออ้างให้เห็นเด่นขึ้นโดยอาศัยการเปรียบเทียบ เช่น อย่าว่าแต่ผู้ใหญ่เลย แม้เด็กก็เข้าใจ.
แม้ว่า
หมายถึงสัน. ผิว่า, หากว่า, เช่น แม้ว่าจะไปด้วย ก็ตามใจ.
สังคมวิทยา
หมายถึง[สังคมมะ-, สังคม-] น. วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม.
มิไย
หมายถึงสัน. ถึงแม้, ถึงแม้ว่า, เช่น มิไยจะด่า หมายความว่า ถึงแม้จะด่า.
แม้วะ
หมายถึงสัน. แม้ว่า.
อย่างไรก็ดี
หมายถึงสัน. ถึงเช่นนั้น, แม้กระนั้น, แต่.
อย่างไรก็ตาม
หน้าเข้ม
หมายถึงว. มีสีหน้าเครียดหรือขุ่นเคือง, หน้าตึง ก็ว่า.
เยียว
หมายถึงสัน. ผิว่า, แม้ว่า, ถ้า.
สังคมศาสตร์
หมายถึง[สังคมมะ-, สังคม-] น. ศาสตร์ว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับสังคม มีหมวดใหญ่ ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับสังคม) มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยาสังคม.