ค้นเจอ 2,020 รายการ

ปฤจฉาสรรพนาม

หมายถึง(ไว) น. คำแทนชื่อที่เป็นคำถาม เช่นคำ “ใคร” ฯลฯ.

หัส,หัส-

หมายถึง[หัด, หัดสะ-] น. การหัวเราะ; การรื่นเริง, ใช้เป็นส่วนหน้าของคำสมาส เช่น หัสดนตรี หัสนาฏกรรม หัสนิยาย. (ป. หสฺส; ส. หรฺษ).

ไทย,ไทย-,ไทย-

หมายถึง[ไทยะ-] (แบบ) ว. ควรให้, ใช้ประกอบเป็นคำนำหน้าสมาส. (ป. เทยฺย).

ถะถุนถะถัน

หมายถึง(กลอน) ว. หยาบช้า เช่น คำถะถุนถะถันว่า คำหยาบช้า.

แปลตามพยัญชนะ

หมายถึงก. แปลตามตัวอักษร, แปลความหมายของคำอย่างตรงไปตรงมาคำต่อคำ.

ไม่

หมายถึงว. มิ, คำปฏิเสธความหมายของคำที่อยู่ถัดไป เช่น ไม่กิน ไม่ดี, ถ้าอยู่ท้ายคำ ต้องมีคำ หา อยู่หน้า เช่น หากินไม่.

ผิดวาจา

หมายถึงว. ไม่รักษาคำพูด, ผิดคำพูด ก็ว่า.

กิตติ

หมายถึง[กิดติ] น. คำเล่าลือ, คำสรรเสริญ. (ป.).

สระ

หมายถึง[สฺระ] คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยคำ สะ ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สะท้อน เป็น สระท้อน.

ปฏิวาท

หมายถึง[-วาด] น. คำโต้, คำคัดค้าน. (ป.).

ขอรับ

หมายถึงคำรับที่สุภาพชนใช้.

จารี

หมายถึงน. ผู้ประพฤติ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ธรรมจารี สัมมาจารี. (ป.).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ