ค้นเจอ 2,244 รายการ

คำพ้องเสียง

หมายถึงคำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์ (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์

เบิกไพร

หมายถึงก. ทำพิธีก่อนจะเข้าป่า.

ผีโป่ง

หมายถึงน. ผีที่อยู่ในป่าโป่ง.

พนาวาส

หมายถึงน. ที่อยู่ในป่า. (ป. วนาวาส).

วัน

หมายถึงน. ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. (ป. วน).

อัมพวัน,อัมพวา

หมายถึงน. ป่าหรือสวนมะม่วง.

วนาศรม

หมายถึงน. ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาศฺรม).

ป่าทึบ

หมายถึงน. ป่าที่มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น.

หิมวาส,หิมเวศ

หมายถึง[หิมมะวาด, หิมมะเวด] น. ที่อยู่อันหนาว คือ ป่าหิมพานต์; ใช้ว่า ป่าทั่วไป ก็มี.

ลูกปละ

หมายถึงน. ลูกวัวหรือควายที่ออกในคราวที่เจ้าของปล่อยอยู่ตามทุ่งตามป่า ซึ่งพ่อหรือแม่สมจรกับวัวป่าหรือควายป่า.

ป่าเส็งเคร็ง

หมายถึงน. ป่าไม้เล็ก ๆ น้อย ๆ ซึ่งไม่ใช่ป่าสำคัญ.

วนจร,วนจรก

หมายถึง[วะนะจอน, วะนะจะรก] น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.).

 คำราชาศัพท์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ