ค้นเจอ 360 รายการ

เคย

หมายถึงใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาแสดงว่ากริยานั้น ๆ ได้เป็นมาแล้ว เช่น เคยทำ = ได้ทำมาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยาที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย. ก. ชิน, คุ้น, เช่น เคยสนาม เคยเวที.

เต็มตา

หมายถึงว. ใช้แก่กริยานอน หมายความว่า นอนอิ่ม เช่น นอนเต็มตา, ใช้แก่กริยาเห็น หมายความว่า เห็นชัด เช่น เห็นเต็มตา.

ชงฆ,ชงฆ-,ชงฆ์,ชงฆา

หมายถึง[ชงคะ-] (กลอน; แบบ) น. แข้ง, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์. (ป. ชงฺฆ; ส. ชงฺฆา).

โคปผกะ

หมายถึง[โคบผะกะ] (แบบ) น. ตาตุ่ม, ข้อเท้า, ราชาศัพท์ว่า พระโคปผกะ. (ป.).

หทัย

หมายถึง[หะไท] น. หัวใจ, ใจ, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระหทัย. (ป.; ส. หฺฤทย).

เพลา

หมายถึง[เพฺลา] น. ตัก, ช่วงขาตั้งแต่เข่าถึงโคนขา, ราชาศัพท์ว่า พระเพลา. (ข. เภฺลา).

แข้ง

หมายถึงน. ส่วนหน้าของขา ใต้เข่าลงไปถึงข้อเท้า, หน้าแข้งก็ว่า, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์.

ประธาน

หมายถึง(ไว) น. ผู้กระทำ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็นประธานของกริยา วิ่ง คนกินข้าว คน เป็นประธานของกริยา กิน.

ฉาย

หมายถึงน. เงา, ที่ร่ม; ราชาศัพท์เรียกกระจกส่องหน้าว่า พระฉาย. (ป., ส. ฉายา).

น้ำไหลไฟดับ

หมายถึง(ปาก) ว. เร็วและคล่อง (ใช้แก่กริยาพูด).

อ้อมแอ้ม,อ้อมแอ้ม ๆ,อ้อม ๆ แอ้ม ๆ

หมายถึงว. ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด).

จุ่ง

หมายถึงก. จง, คำช่วยกริยาบอกความบังคับหรือความหวัง.

 คำราชาศัพท์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ