ค้นเจอ 2,054 รายการ

ปฏิ,ปฏิ-

หมายถึงคำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. (ป.; ส. ปฺรติ).

อห

หมายถึง[อะหะ] น. วัน, วันหนึ่ง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น สัปดาห์ มาจาก ส. สปฺต + อห = ๗ วัน.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๑ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น กอซ.

ปฏิวาท

หมายถึง[-วาด] น. คำโต้, คำคัดค้าน. (ป.).

ขอรับ

หมายถึงคำรับที่สุภาพชนใช้.

พระราชดำรัส, พระราชกระแส

หมายถึงคำพูด, พูด

พหูพจน์

หมายถึงน. คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง.

ทะ

หมายถึงคำใช้นำหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น หรือเป็นคำซํ้าซึ่งคำหน้าเสียงกร่อนไป เช่น

พระบรมราชวินิจฉัย

หมายถึงคำวินิจฉัย, การวินิจฉัย

พระราชวินิจฉัย

หมายถึงคำวินิจฉัย, การวินิจฉัย

กาพย์กลอน

หมายถึงน. คำร้อยกรอง.

ฉะ

หมายถึงคำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ.

 คำราชาศัพท์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ