ค้นเจอ 49 รายการ

ส.ส.

ย่อมาจากโรงเรียนสระยายโสมวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี

น.ส.ป.

ย่อมาจากโรงเรียนน้ำโสมประชาสรรค์ (ถิรธัมโม อุปถัมภ์) จังหวัดอุดรธานี

จันทวาร

หมายถึง[จันทะวาน] น. วันจันทร์, จันทรวาร หรือ โสมวาร ก็ว่า.

กระพริ้ม

หมายถึง(กลอน) ว. พริ้มพราย, แฉล้ม, เช่น ดูกระพริ้มริมแดงดังแสงโสม. (นิ. เดือน).

ทาสที่เฝ้าทรัพย์,ปู่โสมเฝ้าทรัพย์(มีลักษณะ เหยียดหยาม)

ภาษาจีน看财奴

โกษม

หมายถึง[กะโสม] น. ผ้าใยไม้ (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน, เช่น อีกโกษมสวัสดิวรรณึก. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ส. เกฺษามฺ).

โสมนัส

หมายถึง[โสมมะนัด] น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยมะพร้าวคั่ว ไข่ขาว และน้ำตาลทราย หยอดเป็นก้อนกลม แล้วผิงให้กรอบ, โบราณเรียก โคมะนัส เพี้ยนมาจาก coconut.

สามเวท

หมายถึง[สามะเวด, สามมะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๓ ของพระเวท ประพันธ์เป็นฉันท์ ส่วนใหญ่คัดมาจากฤคเวท สำหรับขับในพิธีบูชาด้วยน้ำโสม. (ส.). (ดู เวท, เวท- ประกอบ).

nourish

แปลว่าบำรุงกำลัง

V

Hindu

แปลว่าฮินดู

N

complete

แปลว่าเต็มใบ

ADJ

เวท

หมายถึง[เวด] น. ความรู้, ความรู้ทางศาสนา; ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์หรือคาถาอาคม เมื่อนำมาเสกเป่าหรือบริกรรมตามลัทธิวิธีที่มีกำหนดไว้ สามารถให้ร้ายหรือดี หรือป้องกันอันตรายต่าง ๆ ตามคติไสยศาสตร์ได้ เช่น ร่ายเวท, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ มนตร์ เป็น เวทมนตร์; ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. (ป., ส.).