ค้นเจอ 85 รายการ

ยชุรเวท

หมายถึง[ยะชุระ-] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ ของพระเวท กล่าวถึงพิธีบูชาสำคัญหลายพิธี เช่น พิธีราชสูยะ พิธีอัศวเมธ รายละเอียดในการประกอบพิธีและเรื่องเล่าแต่งเป็นร้อยแก้ว ส่วนบทสวดเป็นฉันท์นำมาจากฤคเวท. (ส.). (ดู เวท, เวท- ประกอบ).

ฤคเวท

หมายถึง[รึกคะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๑ ของพระเวท ใช้ภาษาสันสกฤตรุ่นเก่าที่สุด ประพันธ์เป็นฉันท์ มีอายุประมาณ ๕๐๐ ถึง ๑,๐๐๐ ปีก่อนพุทธกาล, อิรุพเพท ก็ว่า. (ส.; ป. อิรุพฺเพท). (ดู เวท, เวท- ประกอบ).

นนทิเวท

แปลว่าผู้ยินดีมีความรู้

วันอังคาร+4

ภัทรเวท

แปลว่าผู้เจริญและประเสริฐด้วยความรู้

วันอังคาร+3

อุปเวท

หมายถึง[อุปะเวด, อุบปะเวด] น. คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). (ส.).

อุปเวท

อ่านว่าอุ-ปะ-เวด

อุปเวท

อ่านว่าอุบ-ปะ-เวด

อนันต์เวท

แปลว่าผู้มีความรู้ไม่มีที่สิ้นสุด

วันอังคาร+4

elfin

แปลว่ามีเสน่ห์, มีเวทมนต์

ADJ

เวทวรินทร์

แปลว่าผู้มีความรู้ยิ่งใหญ่

วันอังคาร+4

ชุดไปรเวท

ภาษาญี่ปุ่น略服

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นりゃくふく

n

เวทวรา

แปลว่าผู้มีความรู้ที่ประเสริฐ

วันอังคาร+4