ค้นเจอ 424 รายการ

นฤ

หมายถึง[นะรึ-] ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).

นฤ-

หมายถึง[นะรึ-] ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๒๔ เป็นพวกอักษรตํ่า และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สุเมธ มคธ.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๔ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กฎ มงกุฎ.

อน,อน-

หมายถึง[อะนะ-] เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. (ดู อ ๒ ประกอบ).

การพูดเป็นคำสุดท้าย ควรเป็นการกล่าวขออภัย

แปลว่าลูกรัก หากลูกตกเป็นเหยื่อของสิ่งที่พูด หรือถูกคำพูดของลูกเป็นกับดัก ก็จงทำดังนี้สิ จงปลดปล่อยตัวของลูกเสีย เมื่อลูกตกเป็นเหยื่อในเงื้อมมือของเพื่อนบ้านแล้ว จงถ่อมตนแล้ววิงวอนเพื่อนบ้านของลูก

ความร่ำรวยของคนเรา มิได้อยู่ที่ว่าเรามี ทรัพย์สินเงินทองมากมายเพียงใด แต่ขึ้นอยู่กับว่าเราเป็นคนอย่างไร

แปลว่าบางคนไม่มีอะไรเลย แต่แสร้งทำเป็นคนร่ำรวย แต่บางคนมีทุกสิ่งทุกอย่าง แต่ก็แสร้งทำเป็นคนจน

ความเกียจคร้านและความยากจน เป็นญาติกัน

แปลว่าหลับนิด เคลิ้มหน่อย กอดมือพักสักนิด แล้วความจนก็จะมาหาถึงเจ้า แล้วทุกอย่างก็จะสูญหายไป

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๑๕ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรากฏ มกุฏกษัตริยาราม.

สุว

หมายถึง[-วะ-] คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. (ป., ส. สุ).

สุว-

หมายถึง[-วะ-] คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. (ป., ส. สุ).