ค้นเจอ 25 รายการ

อาเทศ

หมายถึง[-เทด] น. การแปลงหรือแผลงพยัญชนะและสระตามข้อบังคับแห่งไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สมบัติ + อภิบาล อาเทศสระอิ ที่ ติ เป็น ย แล้วสนธิกับ อภิบาล เป็น สมบัตยาภิบาล, ธนุ + อาคม อาเทศสระอุ ที่ นุ เป็น ว แล้วสนธิกับ อาคม เป็น ธันวาคม, อธิ + อาสัย อาเทศอธิ เป็น อัชฌ แล้วสนธิกับ อาสัย เป็น อัชฌาสัย. (ส.; ป. อาเทส).

ษัษ

หมายถึงว. หก. (คำสมาสใช้ ษัฏ บ้าง ษัฑ บ้าง ษัณ บ้างตามวิธีสนธิ). (ส.; ป. ฉ).

ราชโองการ

แยกคําสมาสเป็นราช + โองการ

สุขอุทัย

แยกคําสมาสเป็นสุข + อุทัย

ราชาอธิราช

แยกคําสมาสเป็นราช + อธิราช

จุฬาอลงกรณ์

แยกคําสมาสเป็นจุฬา + อลงกรณ์

นรอินทร์

แยกคําสมาสเป็นนร + อินทร์

อันดร

หมายถึง[-ดอน] น. ภายใน, ระหว่าง, มักใช้เข้าสนธิกับคำอื่น เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น พุทธ + อันดร = พุทธันดร นิร + อันดร = นิรันดร. (ป., ส. อนฺตร).

พนัส,พนัส-

หมายถึง[พะนัด, พะนัดสะ-] น. ป่า, พง, ดง. (มาจาก พน แต่เพิ่มตัว ส เพื่อความสะดวกในการสนธิ). (ส. วนสฺ; ป. วน).

นิลอุบล

แยกคําสมาสเป็นนิล + อุบล

มหาอานุภาพ

แยกคําสมาสเป็นมหา + อานุภาพ

พุทธโอวาท

แยกคําสมาสเป็นพุทธ + โอวาท