ค้นเจอ 142 รายการ

คำไวพจน์ ที่ มีอะไรบ้าง

สถาน

หมายถึง[สะถาน] น. ที่ตั้ง เช่น สถานเสาวภา สถานพยาบาล สถานพักฟื้น สถานบริบาลทารก, ถ้าใช้ประกอบคำอื่นหมายถึง ที่, แหล่ง, เช่น โบราณสถาน ศาสนสถาน ฌาปนสถาน ปูชนียสถาน สังเวชนียสถาน; ประการ เช่น มีความผิดหลายสถาน. (ส.; ป. าน).

สองเกลอ

หมายถึงน. เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๒ ที่.

ผู้

หมายถึงน. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน เช่น ศาลเป็นผู้ตัดสิน; คำใช้ประกอบคำกริยาหรือประกอบคำวิเศษณ์ให้เป็นนามขึ้น เช่น ผู้กิน ผู้ดี. ว. คำบอกเพศ หมายความว่า ตัวผู้ เช่น ม้าผู้ วัวผู้. ส. ที่, ซึ่ง, เช่น บุคคลผู้กระทำความดีย่อมได้รับความสุข.

บัณรสี

หมายถึง[บันนะระสี] ว. ที่ ๑๕, ใช้กับคำว่า ดิถี เช่น บัณรสีดิถี = วัน ๑๕ คํ่า. (ป. ปณฺณรสี).

ปัณรสม,ปัณรสม-

หมายถึง[ปันนะระสะมะ-] ว. ที่ ๑๕. (ป.).

อินทรวงศ์

หมายถึง[อินทฺระ-] น. ชื่อฉันท์ ๑๒ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีสำเนียงไพเราะดุจเสียงปี่ของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๗ คำ รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คำที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคำที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๖ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓

square

แปลว่าสี่เหลี่ยม, พื้นที่ หรือเนื้อที่สามเหลี่ยม, สี่แยกของถนน, ที่ ๆ ถนนตัดผ่านกันจะมีกี่แยกก็ตาม, ตึกอาคารที่มีถนนผ่านสี่ด้าน, ไม้ฉาก, ตาราง (วา,ฟุต,เมตร), ค่าของกำลังสอง

ความคิดนั้นสำคัญมาก ถือว่าได้เป็นแม่บทใหญ่ของคำพูดและการกระทำทั้งปวง กล่าวคือ ถ้าคนเราคิดดี คิดถูกต้อง ทั้งตามหลักวิชาการและคุณธรรม คำพูดและการกระทำก็เป็นไปในทางที่ดีที่เจริญ แต่ถ้าคิดไม่ดีไม่ถูกต้อง คำพูดและการกระทำก็อาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียหาย ทั้งแก่ตัวเองและส่วนรวมได้

หมวดหมู่ความรู้ตน

ความรู้ตน

นักเรียนที่ยังคงก่อเรื่องวิวาท จนเกิดความเสียหายแก่ตนเองแก่โรงเรียนอยู่ ขอให้สำนึกว่า การกระทำเช่นนั้นอาจกลายเป็นการทำลายอนาคตของตนเองไปได้อย่างคาดไม่ถึง ฉะนั้น ขอให้พยายามฝึกฝนอบรมตนเองให้มีค่าเป็นคนเต็มคน ให้เป็นคนดีมีประโยชน์ให้จงได้

หมวดหมู่ความรู้ตน

ความรู้ตน

กระลา

หมายถึง(โบ) น. ท่วงที. (อนันตวิภาค); ที่, กอง, เช่น กระลาบังคลคนผจง. (ดุษฎีสังเวย). (เทียบ ข. กฺรฬา).

ติงสติม,ติงสติม-

หมายถึง[ติงสะติมะ-] (แบบ) ว. ที่ ๓๐ เช่น ติงสติมสุรทิน. (ป.).