ค้นเจอ 330 รายการ

อุปมาว่าถ้อยคำ สำนวน แม้เป็นของบุคคลต่าง ๆ ก็ตามแต่ก็ไพเราะ งดงามเหมือนกัน

ภาษาจีน异曲同工

พลังลีลาในการเขียน พลังลีลาในการวาด พลังลีลาของถ้อยคำสำนวน

ภาษาจีน笔力

ปากจัด

หมายถึงว. ชอบพูดจาหรือโต้เถียงด้วยถ้อยคำแข็งกร้าวไม่สุภาพ, ด่าเก่ง, ชอบพูดจาหยาบคาย.

ใบ้

หมายถึงว. ไม่สามารถจะพูดเป็นถ้อยคำที่คนทั่ว ๆ ไปเข้าใจได้, โดยปริยายหมายความว่า นิ่งไม่พูด เช่น นั่งเป็นใบ้. ก. แสดงกิริยาท่าทางแทนถ้อยคำ เช่น ภาษาใบ้; แนะด้วยอุบาย เช่น บอกใบ้, บอกเลศนัย เช่น ใบ้หวย.

ภาพพจน์

หมายถึง[พาบพด] น. ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. (อ. figure of speech).

ปาฐกถา

หมายถึง[-ถะกะถา] น. ถ้อยคำหรือเรื่องราวที่บรรยายในที่ชุมนุมชนเป็นต้น. ก. บรรยายเรื่องราวในที่ชุมนุมชนเป็นต้น. (ป.).

slang

แปลว่าถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม, ภาษารหัสของขโมยหรือโจร, คำสแลง, ภาษาสแลง

N

ประพันธ์

หมายถึงก. แต่ง, เรียบเรียง, ร้อยกรอง, ผูกถ้อยคำเป็นข้อความเชิงวรรณคดี. (ส. ปฺรพนฺธ; ป. ปพนฺธ).

วาทศาสตร์

หมายถึงน. วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคำสำนวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่นพูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. (อ. rhetorics).

วรรณนา

หมายถึง[วันนะ-] น. พรรณนา, การกล่าวถ้อยคำให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. (ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา).

พจนานุกรม

หมายถึง[-กฺรม] น. หนังสือว่าด้วยถ้อยคำในภาษาใดภาษาหนึ่ง เรียงตามลำดับตัวอักษร โดยทั่ว ๆ ไปจะบอกความหมายและที่มาของคำเป็นต้นด้วย.

บน

หมายถึงน. คำ เช่น ให้บนถ้อยคำ. (จินดามณี); คำที่จดไว้เป็นหลักฐาน, คำให้การที่จดไว้เป็นหลักฐาน, เช่น เอาบนเขาไว้, ให้คาดบนไว้. (สามดวง).