ค้นเจอ 247 รายการ

gentleness

แปลว่าความอ่อนโยน

N

implore

แปลว่าฉะอ้อน

V

snidely

แปลว่าสกปรก

ADV

play with

แปลว่าเย้าหยอก

V

บุคลิกอีกลักษณะของสัตบุรุษเปลี่ยนไปใน 3 ลักษณะคือ 1. มองจากที่ไกล ดูหนักแน่นมั่นคง น่าเกรงขาม 2. อยู่ต่อหน้า กิริยาสุภาพนุ่มนวล น่ารักน่าเคารพ 3. เมื่อเปล่งวาจา คำพูดจริงจังดังเหลือเกิน สัตบุรุษระมัดระวังคำพูด ประกอบกิจว่องไว

ข่ม

หมายถึงก. ใช้กำลังกดลงไม่ให้เผยอขึ้น; สานลายด้วยการใช้เส้นตอกเป็นต้นที่เป็นเส้นสานขัดทับอยู่ข้างบนเส้นตอกที่เป็นเส้นยืน ตรงข้ามกับคำ ยก คือ ใช้เส้นสานลอดใต้เส้นยืน เช่น ยก ๒ ข่ม ๒; โดยปริยายหมายความว่า แสดงกิริยาวาจาให้เห็นว่าเหนือกว่า หรือทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึกว่าด้อยกว่า เช่น แต่งตัวข่มเพื่อน พูดข่ม, บังคับ เช่น ข่มใจ ข่มอารมณ์; ครอบ.

ทศพิธราชธรรม

หมายถึงน. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน – การให้ ๒. ศีล – การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ – ความซื่อตรง ๕. มัททวะ – ความอ่อนโยน ๖. ตบะ – การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ – ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ – ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ - ความไม่คลาดจากธรรม.

อกุศลกรรมบถ

หมายถึงทางแห่งความชั่ว ทางบาป มี ๑๐ อย่าง คือ เกิดแต่กาย เรียก กายทุจริต ๓ ได้แก่ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม เกิดแต่วาจา เรียก วจีทุจริต ๔ ได้แก่พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ เกิดแต่ใจ เรียก มโนทุจริต ๓ ได้แก่โลภอยากได้ของคนอื่น ปองร้ายเขา เห็นผิดจากคลองธรรม เรียก อกุศลกรรมบถ (ป. ส.).

encroach

แปลว่าจาบจ้วง

V

manners

แปลว่ามารยาท

N

sarassah; goddess of speech

แปลว่าพาณี

N

กาย วาจา ใจ ที่เกิดแห่งบุญ ใจนั้นคือความคิด จิตหรือใจโดยความหมายเป็นสิ่งเดียวกัน จิตหรือใจเป็นสภาพเป็นกลาง ๆ ถ้าคิดเรื่องดีก็เป็นบุญ ถ้าคิดเรื่องไม่ดีก็เป็นบาป สติเป็นหลักปฏิบัติสำคัญของจิต ฝึกหัดให้เป็นผู้มีสติประจำจิตอยู่เสมอ