คำไวพจน์ ที่นิยมใช้ในการแต่งกลอน หลายคนอยากจะได้คำที่มีความหมายเหมือนกันเพื่อจะไปแต่งกลอนให้สละสลวยหรือจะแปลงให้เสียงลงวรรค/สัมผัสได้ถูกต้อง เลยจะขอให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้คำ ในการแต่งคำประพันธ์ คำกลอน
คำราชาศัพท์ หมวด ร่างกาย ส่วนลำตัว วันนี้ได้นำเกี่ยวกับหมวดร่างกายมาฝาก แต่จะเป็นส่วนลำตัวที่มีคำราชาศัพท์หลากหลาย บางคำก็คุ้นเคยเจอบ่อย บางคำก็อาจจะพึ่งเคยเห็นกันวันนี้ และจะมีคำใดบ้างครบทุกส่วนของลำตัวหรือไม่มาดูกันเลย
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
คำไวพจน์: จระเข้ - คำไวพจน์ของ จระเข้ พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "จระเข้" คือ กุมภา กุมภิล กุมภีล์ ตะโขง ไอ้เคี้ยง ตะเข้ แร้ นักกะ นักระ สุงสุมาร
คำไวพจน์: สิงโต - คำไวพจน์ของ สิงโต พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ จ้าวแห่งสัตว์ พาฬ ราชสีห์ สิงห์ เกสรี เจ้าป่า ไกรศร ไกรศรี ไกรสร ไกรสรี นฤเคนทร์ สีหราช สีห์
คำไวพจน์: ไก่ - คำไวพจน์ของ ไก่ พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ไก่" คือ กุน จรุก วราหะ วราห์ ศูกร สุกร
คำไวพจน์ พระเจ้าแผ่นดิน - คำคล้าย พระเจ้าแผ่นดิน คำไวพจน์ ของ "พระเจ้าแผ่นดิน" คือ เจ้าหล้า ธเรศ นฤเบศน์
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด กิเลส พุทธสุภาษิต หรือ พุทธศาสนสุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำดี ๆ ในพระพุทธศาสนา แต่ไม่ได้หมายความเฉพาะคำที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เท่านั้น แม้สุภาษิตแทบทั้งหมดจะเป็นพระพุทธพจน์ก็ตาม แต่ก็ยังมีสุภาษิตคำอื่นที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาด้วย เช่น ถ้าเป็นภาษิตพระสัมมาสัมพุทธตรัสเอง เรียกว่า พุทธภาษิต หรือ พุทธสุภาษิต หรือ พระพุทธพจน์