ค้นเจอ 281 รายการ

เข็นครกขึ้นเขา

หมายถึง(สำ) ก. ทำงานที่ยากลำบากอย่างยิ่งโดยต้องใช้ความเพียรพยายามและอดทนอย่างมาก หรือบางทีก็เกินกำลังความสามารถหรือสติปัญญาของตน.

เป็นคำที่คนในสมัยเก่า ใช้เรียกทหาร น่าจะตรงกับภาษาไทยว่าท.ทหารอดทน

ภาษาจีน老总

ความบริสุทธิ์ก็ดี ผู้ที่ประเสริฐล้วนก็ดี ขันติ และ โสรัจจะ ก็ดี จะเป็นผู้สนิทก็ดี ย่อมไม่มีเพราะการชำระล้างด้วยน้ำ

ความอดทนคือ คุณสมบัติที่ท่านชมเชยผู้ขับ รถข้างหลังท่าน แต่เป็นที่น่ารำคาญสำหรับ ผู้ที่ขับรถอยู่ข้างหน้า

แปลว่าเรื่องจบ ดีกว่าเริ่มเรื่อง ความอดทนดีกว่าความหยิ่งยโส อย่าเป็นคนโกรธง่าย เหตุว่าความโกรธมักจะอยู่ในใจของคนโง่

limit

แปลว่าขีดคั่น

V

ทศพิธราชธรรม

หมายถึงน. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน – การให้ ๒. ศีล – การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ – ความซื่อตรง ๕. มัททวะ – ความอ่อนโยน ๖. ตบะ – การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ – ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ – ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ - ความไม่คลาดจากธรรม.

ชิวิตคงจะง่ายขึ้นมาก หากคนเรา แสดงความอดทนในครอบครัว ให้เท่ากับเวลาที่เขาไปนั่งตกปลา

แปลว่าท่านที่เป็นสามี ก็จงอยู่กับภรรยาของท่าน ด้วยความเข้าใจซึ่งกันและกัน

desire

แปลว่าความอยาก

N

ราชธรรม

หมายถึงน. จริยวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพึงประพฤติ, คุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง, มี ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ๑. ทาน-การให้ ๒. ศีล-ความประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ-การบริจาค, ความเสียสละ ๔. อาชชวะ-ความซื่อตรง ๕. มัททวะ-ความอ่อนโยน ๖. ตปะ-ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลสตัณหา ๗. อักโกธะ-ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา-ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ-ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ-ความไม่คลาดธรรม. (ส.).

ภิกษุผู้ฟุ้งซ่าน คลอนแคลน อาศัยมิตรชั่ว ถูกคลื่นท่วมทับ (อดทนต่อคำสั่งสอนไม่ได้) ย่อมจมลงในห้วงน้ำใหญ่

กำลังดึง กำลังฉุด กำลังลาก กีฬาชนิดไตรกีฬา(ให้วิ่ง ว่ายน้ำ ปั่นจักรยานเพื่อแข่งความแข็งแรงและความอดทน)

ภาษาจีน拉力

มันผิดที่ตัวเราเอง ที่ไม่ยอมซื่อสัตย์กับความรัก พอถึงเวลาที่เค้าอดทนไม่ได้ แล้วเค้าเลือกที่จะไป เรากลับเพิ่งมารู้ว่า (เราขาดเค้าไม่ได้จริง ๆ)