ค้นเจอ 192 รายการ

ตัว A ในไพ่,คนขว้างลูกคนแรกในเบสบอลมือหนึ่ง,การเสิร์ฟลูกเทนนิสได้แต้ม

ภาษาญี่ปุ่นエース

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นエース

n

คะไขว่

หมายถึง[-ไขฺว่] (กลอน) ว. ขวักไขว่, สับสน, โบราณเขียนเป็น คไขว่ ก็มี เช่น ขว้างหอกซรัดคไขว่ ไล่คคลุกบุกบัน. (ตะเลงพ่าย).

ขว้างจักร

หมายถึง[-จัก] น. กรีฑาประเภทลานอย่างหนึ่ง ผู้แข่งขันจะต้องยืนอยู่ในวงเขตที่กำหนด แล้วขว้างจานไม้กลมตรงกลางนูนทั้ง ๒ ข้างออกไปให้ไกลที่สุด.

เนินดินในสนามกอล์ฟ,บริเวณเนินดินในสนามเบสบอลที่ผู้ขว้างลูกบอลยืนอยู่

ภาษาญี่ปุ่นマウンド

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นマウンド

n

เนตบอล

หมายถึงน. กีฬาอย่างหนึ่ง คล้ายบาสเกตบอล มีผู้เล่นฝ่ายละ ๗ คน และส่งลูกบอลโดยวิธีโยนหรือขว้างเท่านั้น ห้ามเตะหรือตบลูกบอลกับพื้น. (อ. netball).

โปโลน้ำ

หมายถึงน. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่งที่เล่นในน้ำ โดยมีผู้เล่นซึ่งเป็นนักว่ายน้ำฝ่ายละ ๗ คน พาลูกบอลด้วยการโยนหรือขว้างลูกบอลให้เข้าประตูของฝ่ายตรงข้าม.

กระดุมหรือตัวล๊อกของเสื้อผ้า,ภาพที่ถ่ายโดยเปิดกล้องเร็ว,การขว้างลูกเบสบอลหรือหวดลูกกอล์ฟด้วยกำลังข้อมือ

ภาษาญี่ปุ่นスナップ

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นスナップ

n

Chuck In

กริยาช่อง 2Chucked In

กริยาช่อง 3Chucked In

แปลว่าโยนเข้าไป (คำไม่เป็นทางการ), โยนเข้า, ขว้างเข้าไป

bad egg

แปลว่าไข่เน่า

N

ลูกโยน

หมายถึงน. ดินที่ปั้นกลมแล้วเอาต้นหญ้าทำเป็นหางสำหรับขว้างไล่นกซึ่งมากินข้าวในนา; เรียกข้าวเหนียวที่ผัดกับกะทิใส่เกลือ นํ้าตาล ห่อด้วยใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตยไว้หางยาว แล้วต้มให้สุก ว่า ข้าวต้มลูกโยน.

ทิ้ง

หมายถึงก. ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ถืออยู่หลุดจากมือด้วยอาการต่าง ๆ, ถ้าด้วยอาการขว้าง เรียกว่า ขว้างทิ้ง, ถ้าด้วยอาการโยน เรียกว่า โยนทิ้ง, ถ้าด้วยอาการเท เรียกว่า เททิ้ง เป็นต้น; สละ เช่น ทิ้งทาน, ละไป เช่น ทิ้งบ้าน ทิ้งเรือน, โยนหรือเทเสียโดยไม่ต้องการ เช่น ทิ้งขยะ, ปล่อยลง เช่น ทิ้งระเบิด, ปล่อยไว้ เช่น ทิ้งไว้ให้เย็น, เหลือไว้ เช่น ทิ้งเงินไว้ให้ใช้, เว้น เช่น ทิ้งระยะ ทิ้งช่วง; เรียกแพรหรือผ้าเนื้อหนัก ๆ ลื่น ๆ ที่มีลักษณะถ่วงหรือทิ้งตัวลงว่า ผ้าเนื้อทิ้ง หรือ ผ้าทิ้งตัว; โดยปริยายหมายความว่า ปล่อยด้วยกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทิ้งลูกทิ้งเมีย ทิ้งบ้าน ทิ้งการเล่าเรียน ทิ้งเพื่อน ทิ้งกันเสียไกล พูดทิ้งไว้ที.

เขื่อน

หมายถึงน. เครื่องป้องกันไม่ให้ดินริมนํ้าพัง, สิ่งที่สร้างขึ้นขวางกั้นลำนํ้า เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ในทางชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กำแพงดินหรืออิฐที่ล้อมรอบต้นโพธิ์; (โบ) รั้ว, กำแพง, คันดินกันตลิ่งพัง, เช่น ปิดประตูเมืองลง เขื่อนขว้าง. (ยวนพ่าย).