ค้นเจอ 725 รายการ

คำเรียกกลอนบาทที่สามและสี่ ที่สัมผัสกันอย่างดีในบทกลอนชนิดลู่ของจีน

ภาษาจีน颔联

ทองทศ

หมายถึงน. ค่ากำหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท.

Footpath

ทับศัพท์เป็นฟุตพาท

แลกเงิน

หมายถึงก. เอาเงินตราหน่วยใหญ่ไปแลกเป็นเงินปลีกหรือหน่วยย่อย, แตกเงิน ก็ว่า, แลกเปลี่ยนเงินตราต่างสกุลกัน เช่น แลกเงินดอลลาร์เป็นเงินบาท.

เสวยกรรม

หมายถึง(วรรณ) ก. ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. (ลอ).

คนละ

หมายถึงว. คนหนึ่ง ๆ, แต่ละคน, เช่น เก็บเงินคนละ ๕ บาท; ต่างหากจากกัน ไม่ใช่อย่างเดียวกัน เช่น ผ้าคนละชนิด หนังสือคนละเล่ม.

วิถี

หมายถึงน. สาย, แนว, ถนน, ทาง, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น วิถีทาง วิถีชีวิต บาทวิถี. (ป., ส. วีถิ).

หนึ่งกิโลเมตร

ภาษาพม่าတစ်ကီလို

การนับสิ่งของ

ใน

หมายถึงบ. ตรงกันข้ามกับ นอก, ไม่ใช่นอก, เช่น ในบ้าน ในเมือง; แห่ง, ของ, เช่น พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. (ข. ใน ว่า แห่ง, ของ).

แน่ะ

หมายถึงว. คำทักหรือบอกให้รู้ตัว เช่น แน่ะอยู่นี่เอง แน่ะรถมาแล้ว; ใช้ประกอบคำลงท้ายเพื่อเน้นความ เช่น ราคาตั้ง ๕ บาทแน่ะ.

ปรมาภิไธย

หมายถึง[ปะระมาพิไท, ปอระมาพิไท] น. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลงพระปรมาภิไธย. (ป. ปรมาภิเธยฺย).

พระชนมพรรษา

หมายถึงอายุ สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และใช้คำว่า 'พรรษา' แทนคำว่า 'ปี'