ค้นเจอ 59 รายการ

บรรหาร

หมายถึง[บันหาน] (กลอน; แผลงมาจาก บริหาร) ก. เฉลย, กล่าวแก้, ตรัสสั่ง.

ประภาษ

หมายถึง[ปฺระพาด] ก. ตรัส, บอก, พูด. (ส. ปฺรภาษ; ป. ปภาส).

กรมวัง

หมายถึง[กฺรมมะ-] น. แผนกราชการที่บริหารกิจการในพระราชสำนัก; ข้าราชการแผนกนี้ เช่น กรมวังรับสั่งใส่เกศี. (อิเหนา).

สำแดง

หมายถึงคำกล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสำนวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สำแดงอานนท์.

ดำรัส

หมายถึง[-หฺรัด] น. คำพูดของเจ้านาย ใช้ว่า พระดำรัส, คำพูดของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชดำรัส. ก. พูด (ใช้แก่เจ้านาย). (แผลงมาจาก ตรัส).

กฎ

หมายถึง[กด] (โบ) ก. จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคำไว้. (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตำราไว้. (อัยการเบ็ดเสร็จ), “พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย”. (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กต่ ว่า จด). น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ. (พงศ. ๑๑๓๖); (กฎ) ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น กฎกระทรวง กฎหมาย; (วิทยา) ข้อกำหนดในเรื่องธรรมชาติตามที่ค้นคว้าได้. (อ. law).

ว่าขาน

หมายถึงก. พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา ฯ (อิเหนา).

รับสั่งให้ไปเข้าเฝ้า,(ผู้สูงศักดิ์)เรียกไปพบ,สวมใส่,ซื้อ,อาบน้ำ,เป็นหวัด,รับประทาน,แก่ตัวลง,คว้านท้อง(ใช้เป็นกริยายกย่อง)

ภาษาญี่ปุ่น召す

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นめす

v5s

เราดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยสิ่งที่เราได้รับ แต่เรากลับเป็นผู้มอบชีวิต เมื่อเราเป็นผู้ให้

แปลว่าข้าพเจ้าได้ให้ตัวอย่างแก่ท่านแล้วในทุกสิ่ง ให้ท่านเห็นว่าการกระทำดังนี้ ท่านจะสามารถช่วยผู้ที่อ่อนแอ ท่านจงรำลึกถึงพระวาจาของพระเยซูเจ้าที่ตรัสว่า การให้ย่อมได้บุญมากกว่าการรับ

ตื่นเซ้าขี้ใกล้ ตื่นสาย ขี้ไกล

ความหมายหมายถึง คนที่นับถือพระพุทธศาสนาอันสูงส่ง เมื่อรู้ตื่น รู้เบิกบานด้วยธรรมที่พุทธองค์ทรงตรัสไว้ดีแล้ว ย่อมมีโอกาสมากกว่าผู้ที่ยังหลงอยู่ในวัฏฏะวนสามฉะนี้ แล

พระพุทธเจ้าตรัสพระวาจาใด ย่อมเป็นคำปลอดภัย เพื่อบรรลุพระนิพพาน และเพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์ พระวาจานั้นแล เป็นสูงสุดแห่งวาจาทั้งหลาย

writing

แปลว่าลิขิต

N