ค้นเจอ 770 รายการ

กำหนด

หมายถึง[-หฺนด] ก. หมายไว้, ตราไว้. น. การหมายไว้, การตราไว้; (เลิก) บทบริหารบัญญัติคล้ายพระราชกฤษฎีกา โดยมากเป็นบัญญัติที่เกี่ยวกับบุคคลหรือข้าราชการบางจำพวก เช่น พระราชกำหนดเครื่องแบบแต่งกายข้าราชการฝ่ายทหารและพลเรือน.

วังหลวง

หมายถึงน. วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง.

โพธิปักขิยธรรม

หมายถึงน. ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเกื้อกูลแก่ความตรัสรู้มี ๓๗ ประการ. (ป. โพธิปกฺขิยธมฺม).

พินทุกัป,พินทุกัปปะ

หมายถึงน. การทำพินทุ คือ เขียนรูปวงที่มุมจีวรตามวินัยบัญญัติ. (ป. พินฺทุกปฺป).

เป็นพิธีกรรมทางศาสนาของศาสนาอิสลามในวันที่ 10 เดือน 12 ของทุกปี

ภาษาจีน牺牲节

บทเฉพาะกาล

หมายถึง(กฎ) น. บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติให้ใช้เฉพาะในช่วงเวลาหนึ่งหรือกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นก่อนวันใช้บังคับกฎหมายนั้น.

ขันติ,ขันตี

หมายถึงน. ความอดกลั้นต่อสิ่งที่ไม่พอใจ, ความอดทน. (ป. ขนฺติ = ความอดทน เป็นบารมี ๑ ในบารมี ๑๐).

ถวาย, เลี้ยงดู, ปรนนิบัติ,ผู้มีศิลปบางประการที่คอยปรนนิบัติจักรพรรดิ

ภาษาจีน供奉

ปัญญาวิมุติ

หมายถึง[-วิมุด] (แบบ) น. ความหลุดพ้นด้วยปัญญา เป็นโลกุตรธรรมประการหนึ่ง, คู่กับ เจโตวิมุติ. (ป. ปญฺาวิมุตฺติ).

ไตรลักษณ์

หมายถึง[-ลัก] น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตน.

จตุรภัทร

แปลว่าความเจริญที่ชนปรารถนา 4 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ หรือ อายุ วิทยา ยศ พละ

วันอังคาร+2

รัฐสภา

หมายถึง[รัดถะสะพา] น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร.