ค้นเจอ 30 รายการ

สาย(ของเครื่องสาย),เชือกผูกรองเท้า,ด้าย,เส้น

ภาษาญี่ปุ่น

คำอ่านภาษาญี่ปุ่น

n

เครื่องสายที่สานตัวไม้ไผ่ หวายหรือกิ่วหลิว

ภาษาจีน

อุปกรณ์ที่ใช้ดีชามิเซ็นซึ่งเป็นดนตรีเครื่องสายของญี่ปุ่น

ภาษาญี่ปุ่น

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นばち

n

cello

แปลว่าเครื่องสายประเภทหนึ่งมีลักษณะคล้ายไวโอลินขนาดใหญ่ ขณะเล่นผู้เล่นจะวางไว้ระหว่างเข่าทั้งสอง

N

วงดนตรีที่มีเครื่องสายสี่ชนิดด้วยกัน โดยมักจะประกอบด้วย ไวโอลิน 2 เครื่อง วิโอลา 1 เครื่อง และ เชลโล 1 เครื่อง

ภาษาญี่ปุ่น弦楽四重奏

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นげんがくしじゅうそう

n

ซอ

หมายถึงน. ชื่อเครื่องดนตรีพวกหนึ่งสำหรับสี ในพวกเครื่องสายหรือมโหรี มีคันชักสีให้ดัง มีหลายชนิด เช่น ซออู้ ซอด้วง, ลักษณนามว่า คัน. ก. ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น ขับซอยอราชเที้ยร ทุกเมือง. (ลอ).

กะระหนะ

หมายถึงน. ชื่อเพลงไทยของเก่า เป็นเพลงเครื่องสายประสมปี่พาทย์ ทำตอนชมสวนหรือเล่นสนุก เช่น ในเรื่องอิเหนาตอนอุณากรรณเล่นมโหรีกับพวกในสวนดอกไม้เมืองกาหลัง.

art galleries

แปลว่าหอศิลป์

N

จะเข้

หมายถึงน. เครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายตัวจระเข้ ตัวเป็นโพรง วางยาวไปกับพื้น มีสาย ๓ สาย มีนม ๑๑ นมเป็นฐานรองรับสายเมื่อกดนิ้วขณะดีดทำให้มีเสียงสูงตํ่า มีขา ๕ ขา ใช้บรรเลงผสมอยู่ในวงเครื่องสายและมโหรี, ลักษณนามเรียก ตัว.

ฆ้องโหม่ง

หมายถึงน. ฆ้องขนาดใหญ่กว่าฆ้องเหม่ง มีเชือกร้อยรูทั้ง ๒ ที่ใบฉัตร แขวนห้อยทางตั้งกับขาหยั่งหรือคานไม้ ตรงหัวไม้ที่ใช้ตีพันด้วยผ้ากับเชือกให้เป็นปุ่มโตอ่อนนุ่ม เวลาตีจะมีเสียงดังโหม่ง ๆ ใช้ตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย หรือวงมโหรี, สมัยโบราณใช้ตีในเวลากลางวันเป็นสัญญาณบอก “โมง” คู่กับกลองที่ตีเป็นสัญญาณในเวลากลางคืนบอก “ทุ่ม”.

Chinese cymbalo

แปลว่าขิม

N

กล่อม

หมายถึง[กฺล่อม] น. ชื่อเพลงเครื่องปี่พาทย์ ทำตอนพระเข้าหานาง ซึ่งเรียกว่า โลม หรือตอนขับบำเรอ เรียกว่า กล่อมมโหรี อันใช้เป็นเครื่องสายประสมในภายหลัง และมีชื่อเป็นชนิดต่าง ๆ คือ กล่อมช้าง กล่อมพระยา กล่อมนารี และกล่อมในพิธีพราหมณ์ เรียกว่า ช้าหงส์ หรือ ช้าเจ้าหงส์, ชาวบ้านมักเรียกว่า กล่อมหงส์. ก. ร้องเป็นทำนองเพื่อเล้าโลมใจหรือให้เพลิน, โดยปริยายหมายความว่า พูดให้น้อมใจตาม หรือ ทำให้เพลิดเพลิน เช่น กล่อมใจ กล่อมอารมณ์.