ค้นเจอ 273 รายการ

กระหยับ

หมายถึง(กลอน) ก. ขยับ เช่น มือถือธนูกระหยับลั่น. (รามเกียรติ์ ร. ๑; ไกรทอง; สรรพสิทธิ์). (แผลงมาจาก ขยับ).

ชว,ชว-

หมายถึง[ชะวะ-] (แบบ) ว. เร็ว, (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส) เช่น ชวการ ชวกิจ ชวเลข, แผลงเป็น เชาว์ ก็มี.

โล่ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅

โล่ห์ เป็นคำที่เขียนผิด ❌

อำมฤต

หมายถึง[-มะริด, -มะรึด] น. น้ำทิพย์ เรียกว่า น้ำอำมฤต; เครื่องทิพย์; แผลงมาจาก อมฤต. (ส. อมฺฤต; ป. อมต).

ดำรวจ

หมายถึง[-หฺรวด] (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก ตรวจ) ก. ตรวจตรา, พิจารณา, เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดำรวจดารทาน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).

นฤ

หมายถึง[นะรึ-] ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).

กระลบ

หมายถึง[-หฺลบ] (กลอน; แผลงมาจาก กลบ) ก. ตระหลบ. ว. ฟุ้ง เช่น ก็หอมกระลบอบองค์. (ม. คำหลวง จุลพน).

นฤ-

หมายถึง[นะรึ-] ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).

กระแหม่ว

หมายถึง[-แหฺม่ว] ก. แขม่ว, ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง. (แผลงมาจาก แขม่ว).

จราว

หมายถึง[จะ-] (กลอน) น. ดอกไม้ เช่น แคแจรเจรอญจราว. (ม. คำหลวง จุลพน). (แผลงมาจาก จาว). (ดู จาว ๔).

1.จะงอยปากของนกหรือสัตว์ 2.แผลงความหมายว่าปากของคน

ภาษาจีน

ก้มหน้าและเงยหน้า แผลงความหมายออกไปกว้างๆว่า อากัปกิริยาจะทำอะไรก็แล้วแต่คนอื่นเขา

ภาษาจีน俯仰