ค้นเจอ 240 รายการ

บังคับเอก

หมายถึงน. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้นในโคลงและร่ายใช้แทนเอกได้.

การเล่นคำแบบหนึ่งในคำประพันธ์ โดยใช้คำที่มีคำพ้องเสียงเพื่อให้สามารถตีความได้หลากหลายความหมาย

ภาษาญี่ปุ่น懸詞

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นかけことば

n

การเล่นคำแบบหนึ่งในคำประพันธ์ โดยใช้คำที่มีคำพ้องเสียงเพื่อให้สามารถตีความได้หลากหลายความหมาย

ภาษาญี่ปุ่น掛詞

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นかけことば

n

การเล่นคำแบบหนึ่งในคำประพันธ์ โดยใช้คำที่มีคำพ้องเสียงเพื่อให้สามารถตีความได้หลากหลายความหมาย

ภาษาญี่ปุ่น掛け詞

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นかけことば

n

การเล่นคำแบบหนึ่งในคำประพันธ์ โดยใช้คำที่มีคำพ้องเสียงเพื่อให้สามารถตีความได้หลากหลายความหมาย

ภาษาญี่ปุ่น懸け詞

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นかけことば

n

อถรรพเวท

หมายถึง[อะถับพะเวด, อะถันพะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๔ ของพระเวท ส่วนใหญ่ประพันธ์ขึ้นภายหลัง แต่มีบางบทที่เก่ามากซึ่งนำมาจากฤคเวทก็มี. (ส.). (ดู เวท, เวท- ประกอบ).

ร่าย

หมายถึงน. ชื่อคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่ง เช่น ร่ายยาว ร่ายสุภาพ ร่ายดั้น ร่ายโบราณ; ทำนองร้องอย่างหนึ่งของละครรำ เรียกว่า ร้องร่าย.

วรรณศิลป์

หมายถึงน. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี.

กลบท

หมายถึง[กนละบด] น. คำประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คำหรือสัมผัสเป็นชั้นเชิงยิ่งกว่าธรรมดา เช่น อมรแมนแม่นแม้นเจ้างามโฉม. (กลบทตรีประดับ).

เจ้าสำอางค์,ผู้ดูแลเรื่องเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายของดารา นางแบบ,นักประพันธ์ที่มีสำนวนเป็นแบบฉบับของตัวเอง

ภาษาญี่ปุ่นスタイリスト

คำอ่านภาษาญี่ปุ่นスタイリスト

n

ดอน

หมายถึงน. ที่สูงซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับที่ลุ่ม, ที่เขิน, ที่ห่างนํ้า, เนิน, โคก, โขด, เขิน; (ถิ่น-อีสาน) เรียกเกาะในแม่นํ้าว่า ดอน; คำประพันธ์โบราณเขียนเป็น ดร ก็มี.

อาถรรพเวท

หมายถึง[อาถับพะเวด, อาถันพะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๔ ของพระเวท ส่วนใหญ่ประพันธ์ขึ้นภายหลัง แต่มีบางบทที่เก่ามากซึ่งนำมาจากฤคเวทก็มี. (ส.). (ดู เวท, เวท- ประกอบ).