ค้นเจอ 246 รายการ

ขยัน,ขยันหมั่นเพียร, มุมานะบากบั่น

ภาษาจีน勤谨

มรรษ,มรรษะ

หมายถึง[มัด, มัดสะ] น. ความเพียร, ความอดทน. ก. อดทน. (ส. มรฺษ).

ชาติที่เงินคำแก้ว มันบ่แหม่นของไผ ผู้ใดมีใจเพียร หากสิหลงหลอนพ้อ

ความหมายเงินทองใครๆ ก็หามาได้ถ้ามีความขยันหมั่นเพียร

อารัมภ,อารัมภ-,อารัมภะ,อารัมภ์

หมายถึง[อารำพะ-] น. การปรารภ มักใช้เป็นส่วนหน้าของคำสมาส เช่น อารัมภบท อารัมภกถา; การเริ่มต้น, การตั้งต้น, ในคำว่า วิริยารัมภะ = การเริ่มต้นความเพียร; ความเพียร. (ป., ส.).

โยคาพจร,โยคาวจร

หมายถึง[โยคาพะจอน, -วะจอน] น. ผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ผู้มีความเพียร, (มักใช้เรียกพระภิกษุผู้เรียนสมถะและวิปัสสนา). (ป.).

ความเพียรของหมู่ชนผู้พร้อมเพรียงกันทำให้เกิดสุข

เด็กดี หมั่นเพียร เรียนรู้ สู่อนาคต

คำขวัญวันเด็ก

สัมมัปธาน

หมายถึง[สำมับปะทาน] น. ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. (ป. สมฺมปฺปธาน; ส. สมฺยกฺปฺรธาน).

ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี แต่ผู้ปรารถนาความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นั้น

สัมปทา

หมายถึง[สำปะทา] น. ความถึงพร้อมด้วยคุณความดี เช่น อุฏฐานสัมปทา = ความถึงพร้อมด้วยความเพียร. (ป., ส.).

ผู้มีความเพียรอย่างแรงกล้า เท่ากับสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง

ประโยค

หมายถึง[ปฺระโหฺยก] (ไว) น. คำพูดหรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม; ชั้นแห่งความรู้ภาษาบาลี เช่น เปรียญ ๓ ประโยค สอบได้ประโยค ๓; ความเพียรเครื่องประกอบ, ความเพียร เช่น ประโยคสัมปทา หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความเพียร. (ส. ปฺรโยค; ป. ปโยค).