คำไวพจน์: หมาจิ้งจอก - คำไวพจน์ของ หมาจิ้งจอก พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "หมาจิ้งจอก" คือ ศฤคาล สฤคาล สิคาล สิงคาล ศิคาล
โกดัง หรือ คลังสินค้า แท้จริงแล้วมาจากคำนี้ เมื่อวานไปคุยงานกับลูกค้าเกี่ยวกับระบบการจัดการโกดังสินค้า เลยสะกิดใจว่าและระลึกออกว่าทำไมถึงเรียกว่า "โกดัง"
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
กะเพรา กระเพรา กะเพา เขียนอย่างไรจึงจะมีความหมายถูกต้อง กะเพรา หรือ กระเพรา อีกหนึ่งคำศัพท์ที่เรามักจะสับสนจนทำให้เขียนผิดอยู่เรื่อย ๆ แล้วตกลงคำไหนถูกกันหล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ
เสียมราฐ ช่วงนี้มีกระแสท่องเที่ยวในประเทศเพื่อนบ้านกันเป็นอย่างมาก และอีกที่หนึ่งที่นึกถึงเลยคือ นครวัด ซึ่งตั้งอยู่ที่เมือง เสียมราฐ โดยที่คุณรู้หรือไม่ว่าเมืองนี้ถูกแปลงเสียงเพื่อให้รื่นหูคนไทยเพียงเท่านั้น แท้จริงแล้วเมืองนี้มีมีชื่อที่เป็นภาษาเขมร แล้วมาจากคำว่าอะไรไปดูกัน
ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน - แปลเพลง หลังจากเปิดตัวเพลงมาได้ไม่นาน ก้องหล้า ยอดจำปาหรือก้องห้วยไร่ก็โด่งดังเป็นพลุแตกด้วยบทเพลง ไสว่าสิบ่ถิ่มกัน ที่คนร้องได้ทั่วบ้านทั่วเมือง แต่ด้วยเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอีสานนั้นทำให้หลายคนยังสงสัยและไม่เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด
ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
คำราชาศัพท์ หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด คำราชาศัพท์ หมวดสัตว์และเบ็ดเตล็ด ประกอบไปด้วย กระบือ แปลว่า ควาย; กล้วยเปลือกบาง, กล้วยกะ แปลว่า กล้วยไข่; กล้วยสั้น แปลว่า กล้วยกุ
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ คำราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ ประกอบไปด้วย กำไลข้อพระบาท, ทองพระบาท ความหมาย กำไลข้อเท้า; ตุ้มพระกรรณ ความหมาย ต่างหู; ทองพระกร, ทองกร, พระวลัย ความหมาย กำไล; ทองพระกร, พระกำไล, พระวลัย ความหมาย กำไล
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดอาหาร คำราชาศัพท์ หมวดอาหาร ประกอบไปด้วย เครื่องเสวย = ของกิน, เครื่องคาว = ของคาว, เครื่องเคียง = ของเคียง