ค้นเจอ 186 รายการ

เนรคุณ

หมายถึง[-ระคุน] ว. อกตัญญูไม่รู้คุณ, ไม่สำนึกถึงบุญคุณ. (แผลงมาจาก นิรคุณ).

อิสิ,อิสี

หมายถึงน. ผู้แสวงคุณความดี, ฤษี, ผู้ถือบวช. (ป.; ส. ฤษิ).

นิรคุณ

หมายถึง[-ระ-] ว. ไม่มีลักษณะดี, ไม่มีคุณ, เลว, ชั่วร้าย; เนรคุณ, ไม่รู้คุณ. (ส.).

คุณากร

หมายถึง[คุนากอน] น. บ่อเกิดแห่งความดี, ที่รวมแห่งความดี. (ป. คุณ + อากร).

อุปถัมภ์

หมายถึง[อุปะถำ, อุบปะถำ] น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภ; ส. อุปสฺตมฺภ).

อุปัชฌายวัตร

หมายถึง[อุปัดชายะวัด, อุบปัดชายะวัด] น. กิจที่สัทธิงวิหาริกจะต้องปฏิบัติต่ออุปัชฌาย์ของตน. (ป. อุปชฺฌายวตฺต).

เสมอ

หมายถึง[สะเหฺมอ] ก. เข้าข้าง, คาดว่าจะชนะ, เช่น มวยคู่นี้คุณจะเสมอฝ่ายไหน.

สรรพคุณ

หมายถึงน. คุณสมบัติของสิ่งที่เป็นยา, โดยปริยายหมายถึงคุณสมบัติ เช่น เขามีสรรพคุณเชื่อถือได้. (ส. สรฺว + คุณ).

วิจักษ์

หมายถึงน. ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของศิลปกรรมและวรรณกรรม, ความนิยม, ความซาบซึ้ง, เช่น วรรณคดีวิจักษ์. (อ. appreciation).

สันทิฐิก,สันทิฐิก-

หมายถึง[สันทิดถิกะ-] (แบบ) ว. ควรเห็นเอง, เป็นคุณของพระธรรมอย่างหนึ่ง. (ป. สนฺทิฏฺิก; ส. สานฺทฺฤษฺฏิก).

ยุทธหัตถี

หมายถึงน. การต่อสู้กันด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นวิธีการรบอย่างกษัตริย์ในสมัยโบราณ เช่น พระนเรศวรทรงทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา, การชนช้าง ก็ว่า.

บรากรม

หมายถึง[บะรากฺรม] (แบบ) น. ความเพียร, ความบากบั่น, ความพยายาม, ความแข็งขัน, ความก้าวไปเพื่อคุณในเบื้องหน้า. (ส. ปฺรากรฺม; ป. ปรกฺกม).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ