ค้นเจอ 646 รายการ

ทักขิญ

หมายถึง[-ขิน] น. ความเป็นเบื้องขวา หมายความว่า สะดวกในการพูดจาปราศรัย, ความอารีอารอบ, ความกรุณา. (ป. ทกฺขิญฺ).

เท่ากับ

หมายถึงน. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ = หมายความว่า มีค่าเสมอกัน. สัน. คือ.

บท,บท,บท-,บท-

หมายถึง(แบบ) เท้า, รอยเท้า, เช่น จตุบท, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า คือ บทบงกช บทบงสุ์ บทมาลย์ บทรัช บทศรี บทเรศ, (ดูคำแปลที่คำนั้น ๆ). (ป. ปท).

ประสิทธิเม

หมายถึง[ปฺระสิดทิ-] น. คำกล่าวเพื่อความศักดิ์สิทธิ์ หมายความว่า ขอให้สำเร็จแก่เรา.

ปิ๋ว

หมายถึงว. มักใช้ประกอบคำ เล็ก หมายความว่า เล็กมาก.

เป็นอันขาด

หมายถึงว. ใช้ในประโยคปฏิเสธ หมายความว่า แน่นอน, แน่แท้.

เฟื้อง

หมายถึง(โบ) น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๘ อัฐ เท่ากับ ๑ เฟื้อง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (อักขระพิเศษ) หมายความว่า ๑ เฟื้อง.

กระเสียน,-กระเสียน

หมายถึง(โบ) ว. ใช้เข้าคู่กับคำ กระเบียด เป็น กระเบียดกระเสียน หมายความว่า อาการที่คนพูดจาเสียดสีด้วยถ้อยคำต่าง ๆ หรือกดขี่เบียดเบียน. (ปรัดเล).

ตะแหมะแขะ

หมายถึง[-แหฺมะ-] ว. ใช้ประกอบคำ เตี้ย หมายความว่า เตี้ยผิดส่วน.

ตะแหลนแป๋น

หมายถึง[-แหฺลน-] ว. ใช้ประกอบคำ แบน หมายความว่า แบนผิดส่วน.

เต็ม

หมายถึงว. มีสิ่งใดสิ่งหนึ่งบรรจุอยู่จนไม่มีที่ว่าง, ไม่พร่อง, เช่น นํ้าเต็มโอ่ง คนเต็ม; ดาษดื่น, มีอยู่ทั่วไป, เช่น เต็มบ้านเต็มเมือง เต็มตลาด; เปี่ยม เช่น เต็มฝั่ง เต็มตลิ่ง; สุดขีด, เต็มที่, เช่น ตะโกนเต็มเสียง วิ่งเต็มฝีเท้า; ถ้าใช้ประกอบหน้ากริยา หมายความว่า แทบไม่ไหว เช่น เต็มกิน เต็มทน เต็มสู้.

เต็มเต็ง,เต็มบาท

หมายถึงว. มีจิตใจสมบูรณ์เป็นปรกติ, ใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เต็มเต็ง ไม่เต็มบาท หมายความว่า บ้า ๆ บอ ๆ.

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ