ค้นเจอ 83 รายการ

ขุนหลวง

หมายถึง(โบ) น. พระเจ้าแผ่นดิน เช่น เป็นขุนหลวงเสวยราชย์ได้สองปี. (พงศ. ร. ๓).

กฎหมายเหตุ

หมายถึงน. จดหมายเหตุ. (พงศ. ประเสริฐ); (กฎ; โบ) กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ.

กะเผ่น

หมายถึง(กลอน) ว. เผ่น, ลอย, เช่น ชมบรรพตเสลาสูงกะเผ่น. (พงศ. เหนือ).

ริเริ่ม

หมายถึงก. เริ่มคิดเริ่มทำเป็นคนแรก (มักใช้ในทางดี) เช่น นายเลื่อน พงษ์โสภณ ริเริ่มทำรถจักรยานสามล้อ.

ท้องขาว

หมายถึงน. เรียกผ้าที่มีส่วนกลางขาวว่า ผ้าท้องขาว เช่น ผ้าท้องขาวเชิงชายเขียน. (พงศ. เลขา), ถ้ามีส่วนกลางเขียว เรียกว่า ผ้าท้องเขียว เช่น ผ้าท้องเขียวชายกรวย. (พงศ. เลขา).

ปัถวี

หมายถึง[ปัดถะ-] น. ท้ายเรือพิธี เช่น หางตาเรือก็กลับไปข้างปัถวี. (พงศ. เลขา).

โขยม

หมายถึง[ขะโหฺยม] (โบ) น. ขยม, ข้า, บ่าว, เช่น ไว้โขยมวัดสามครัว. (พงศ. โยนก). (ข. ขฺญฺ ํ).

ขวง

หมายถึงน. ข่วง, บริเวณ, ลาน, เช่น ให้ยกหอกลองยังขวงหลวงริมสนาม. (พงศ. โยนก).

ผย่ำเผยอ

หมายถึง[ผะหฺยํ่าผะเหฺยอ] ก. ปํ้า ๆ เป๋อ ๆ เช่น ทำหาวเรอพูดผยํ่าเผยอ. (พงศ. เลขา).

กระจร

หมายถึง(กลอน) น. ต้นสลิด เช่น กระทุ่มกระจรแล้ คชน้าวกาหลง. (พงศ. เหนือ). (แผลงมาจาก ขจร).

นายประเพณี

หมายถึง(โบ) น. หัวหน้ารักษาประโยชน์ของวัดและบำรุงวัดได้บังคับว่ากล่าวทั่วไป (ทำนองมรรคนายก). (ประชุมพงศ.).

หางข้าว

หมายถึงน. ข้าวเปลือกที่ยังมีข้าวลีบปนอยู่มาก; (โบ) จำนวนข้าวที่หลวงเรียกเก็บเป็นภาษี. (พงศ. ร. ๒).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ