ค้นเจอ 84 รายการ

ลักษมณ์

หมายถึง[ลัก] น. ชื่อน้ององค์หนึ่งของพระรามในเรื่องรามเกียรติ์. (ส. ลกฺษฺมณ).

กนิษฐ-

หมายถึง[กะนิดถะ-] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

เฮย

หมายถึงอ. คำสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง เช่น น้องเฮย เจ้าเฮย.

ภาตระ

หมายถึง[พาตะระ] น. พี่ชายน้องชาย. (ส. ภฺราตฺฤ).

กนิษฐ์

หมายถึง[กะนิด] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

ผอูน

หมายถึง[ผะอูน] น. น้องหญิง, โผอน ก็ว่า. (ข. บฺอูน).

ภาติยะ

หมายถึงน. ลูกของพี่ชายน้องชาย, หลาน. (ป.; ส. ภาตฺรีย).

กนิษฐ

หมายถึง[กะนิดถะ-] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

กระจร

หมายถึง(กลอน) ก. ฟุ้งไป เช่น ให้กระจรกิจจาในนุสนธิ์. (พาลีสอนน้อง). (แผลงมาจาก ขจร).

รับช่วง

หมายถึงก. รับทอดต่อเนื่องกันไป เช่น รับช่วงงานที่คนเก่าทำค้างไว้ น้องรับช่วงหนังสือเรียนจากพี่.

อนุชา

หมายถึง[อะนุชา] น. “ผู้เกิดภายหลัง”, น้องชาย, (ราชา) พระอนุชา. (ป., ส.).

รู้ท่า

หมายถึงก. รู้ทันความคิด, รู้ว่าอีกฝ่ายหนึ่งคิดอย่างไร, เช่น เห็นหน้าน้องก็รู้ท่าว่าจะมาขอเงิน.

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ