ค้นเจอ 95 รายการ

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓ เป็นอักษรสูง ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น กล่าว นิ้ว.

ไม้ยามักการ

หมายถึงน. เครื่องหมายบังคับให้อ่านพยัญชนะควบ รูปดังนี้ ๎.

ก ข

หมายถึง[โบ อ่านว่า กอข้อ] น. พยัญชนะแต่ ก ถึง ฮ.

อโฆษะ

หมายถึงว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้องว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส. (ส.; ป. อโฆส).

ลากข้าง

หมายถึงก. เขียนสระอาลงข้างหลังพยัญชนะ. น. เครื่องหมายสระอา.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๒๖ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบ.

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๕ นับเป็นพวกอักษรต่ำ แต่ปัจจุบันนี้เลิกใช้แล้ว.

หมายถึงพยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.

อรรธสระ

หมายถึง[อัดทะสะหฺระ] น. เสียงกึ่งสระกึ่งพยัญชนะ.

สังโยค

หมายถึงน. การประกอบกัน, การอยู่ร่วมกัน, การผูกรัด; (ไว) ตัวพยัญชนะ ๒ ตัวที่เรียงกัน ตัวหน้าเป็นตัวสะกด ตัวหลังเป็นตัวตาม พยัญชนะที่เป็นตัวสะกด เรียกว่า พยัญชนะสังโยค เช่น มนุสฺส สตฺต พุทฺธ รฏฺ. (ป. สํโยค, สญฺโค; ส. สํโยค).

หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๙ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น ษมา เศรษฐี และคำว่า อังกฤษ.

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ