ค้นเจอ 3,303 รายการ

กึ่ง

หมายถึงว. ครึ่ง.

เสียคำพูด

หมายถึงก. ไม่ทำตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคำพูด.

พูดจริงทำจริง

หมายถึงก. ทำได้อย่างที่พูดไว้, รักษาคำพูด.

ทิพยมานุษ

หมายถึงน. ครึ่งเทพครึ่งมนุษย์. (ส.).

กระแสรับสั่ง

หมายถึง(ราชา) น. คำพูด.

เจริญพร

หมายถึงเป็นคำเริ่มที่ภิกษุสามเณรพูดกับสุภาพชน และเป็นคำรับ.

ถวายพระพร

หมายถึงคำเริ่มที่พระสงฆ์พูดกับเจ้านายและเป็นคำรับ.

วทะ

หมายถึง[วะ-] น. คำพูด. ก. พูด, กล่าว. (ป.).

พอเพียง

หมายถึงก. ได้เท่าที่กะไว้ เช่น ได้เท่านี้ก็พอเพียงแล้ว.

ลมปาก

หมายถึงน. ถ้อยคำที่กล่าว เช่น อย่าสัญญาเพียงลมปาก, คำพูดที่จูงใจให้เห็นคล้อยตาม เช่น หลงลมปากจึงตามเขาไป.

ละครพูด

หมายถึงน. ละครแบบหนึ่ง รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครพูดบทของตนในการดำเนินเรื่อง อาจพูดเป็นถ้อยคำธรรมดา คำกลอน คำฉันท์ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ ละครพูดคำกลอนเรื่องพระร่วง ละครพูดคำฉันท์เรื่องมัทนะพาธา.

คำ

หมายถึงน. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท; พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน; ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคำหนึ่ง, ลักษณนามบอกจำพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคำหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคำกลอนว่า คำหนึ่ง.

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ